เหตุการณ์ในอดีตประจำเดือน ตุลาคม
รวมเรื่องราวที่เกิดในอดีตทุกเดือนเพื่อเป็นข้อมูลแก่ผู้สนใจศึกษา ค้นคว้า
โดย... พระมหาบุญโฮม ปริปุณฺณสีโล (ไชยฤทธิ์) วัดท่าไทร จ.สุราษฎร์ธานี

เกร็ดน่ารู้ในเดือน ตุลาคม .-

-วันออกพรรษา - วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ตุลาคม ปฏิทินจันทรคติไทย
-วันสายตาโลก - วันพฤหัสในสัปดาห์ที่ ๒ ของเดือนตุลาคม

๑ ตุลาคม - วันเริ่มต้นปีงบประมาณ, วันผู้สูงอายุสากล, วันดนตรีสากล

วันผู้สูงอายุสากล (International Day of Older Persons - International Day of Ageing)

วันผู้สูงอายุเริ่มได้รับความสำคัญตั้งแต่สมัย จอมพลป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการกำหนดนโยบายที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ตุลาคม ีคุณภาพ และดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โดยได้มอบให้กรมประชาสงเคราะห์จัดตั้งสถานสงเคราะห์คนชราขึ้นในปี ๒๔๙๖ เพื่อให้การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ที่เดือดร้อนมีความทุกข์ยาก ประสบปัญหาและไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง งานเสริมทำออนไลด์ผ่าน net รายได้ ๕ ตุลาคม ื่น บ/ด ขั้นต่ำ คลิ๊กสมัครที่ www.make.๑๘.to

เมื่อมาถึงสมัยรัฐบาลตุลาคมเปรม ติณสูลานนท์ ตุลาคม ีการสานต่อความสำคัญ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๒๕ ตุลาคม ัติให้วันที่ ๑๓ ตุลาคม ษายนของทุกปีเป็นวันผู้สูงอายุ และได้เลือก "ดอกลำดวน" เป็นสัญลักษณ์ของผู้สูงอายุ ทำงานอยู่กับบ้าน ผ่าน net ๑๐๐% รายได้ ๕ ตุลาคม ื่น บ/ด ขั้นต่ำ ขอย้ำว่าขั้นต่ำ สมัครที่ http://tinyurl.com/๕๕wkoo

สาเหตุที่เลือกดอกลำดวน ก็เพราะเป็นพืชยืนต้นที่มีอยู่มากใน สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นต้นไม้ที่ให้ความร่มเย็น ลำต้นมีอายุยืน ตุลาคม ีใบเขียวตลอดปี ให้ร่มเงาดีและดอกมีสีนวล กลิ่นหอม กลีบแข็งไม่ร่วงง่าย ตุลาคม ือนกับผู้ทรงวัยวุฒิที่คงคุณธรรมความดีงามไว้ให้เป็นแบบอย่างแก่ลูกหลานตลอดไป นอกจากนั้นทางด้านพฤกษศาสตร์ ต้นไม้นี้ยังใช้เป็นยาบำรุงหัวใจได้อีกด้วย

ในส่วนของระดับนานาชาติก็ให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุมิใช่น้อย องค์การสหประชาชาติกำหนดให้ทุกวันที่ ๑ ตุลาคม ของทุกปี เป็น "วันผู้สูงอายุสากล" เริ่มมาตั้งแต่ปี ๑๙๙๙ หรือ พ.ศ. ๒๕๔๒

ขณะที่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาโลกเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย และได้ให้ความหมายของคำว่า "ผู้สูงอายุ" ตุลาคม ายถึง บุคคลทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปี ขึ้นไป และได้พิจารณาประเด็นสำคัญเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ไว้ ๓ ประการ คือ ด้านมนุษยธรรม ด้านการพัฒนา และด้านการศึกษา

นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลกยังได้กำหนดให้ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นปีรณรงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ โดยกำหนดคำขวัญว่า Add life to years เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ ช่วยกันส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ ซึ่งคณะกรรมการอำนวยการวันอนามัยโลก ของกระทรวงสาธารณสุข ได้มีมติให้ใช้คำขวัญเป็นภาษาไทย ว่า "ให้ความรัก พิทักษ์อนามัย ผู้สูงวัยอายุยืน"

ทั้งหมดนี้ก็คือลำดับความสำคัญของวันผู้สูงอายุที่เกิดขึ้นมาในแต่ละช่วง ซึ่งมองดูก็เหมือนจะสวยหรู แต่เมื่อเทียบจากวันที่ถูกกำหนดขึ้นมา กับการเห็นความสำคัญอย่างแท้จริงที่ลูกปฏิบัติต่อพ่อแม่หรือผู้สูงอายุในบ้านเรายังให้ความสำคัญกับเรื่องนี้น้อยมาก

ที่มา www.kanzuksa.com

๑ ตุลาคม ๒๔๑๑

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต ด้วยพระโรคไข้จับสั่น หลังจากเสด็จไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ พระชนมายุ ๖๔ พรรษา ดำรงอยู่ในราชสมบัติ ๑๘ ปี

๑ ตุลาคม ๒๔๑๑

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชสมบัติ ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็น ตุลาคม ขุนพินิจประชานาถ

๑ ตุลาคม ๒๔๓๖

มหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาทางพุทธศาสนา (ฝ่ายธรรมยุติ) นับเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งแรกในประเทศสยาม เริ่มเปิดสอนเป็นครั้งแรกโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ตุลาคม พระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า องค์ที่ ๑๐ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงริเริ่มและรวบรวมทุนสร้างขึ้น ด้วยรำลึกถึงพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบรมราชชนก ตุลาคม หามกุฎราชวิทยาลัยนี้ตั้งอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร บางลำภู โดยมีพระประสงค์เพื่อเป็นแหล่งศึกษา และอบรมสั่งสอนเผยแพร่พระพุทธศาสนา

๑ ตุลาคม ๒๔๕๔

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานกำเนิดกองลูกเสือ เพื่อเป็นการเตรียมตัวไว้ เพื่อเป็นสมาชิกกองเสือป่า ตุลาคม ื่อเจริญวัยขึ้น

๑ ตุลาคม ๒๔๖๐

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทยแทนธงช้าง ร. ๖ ได้ทรงพระราชนิพนธ์ แสดงความหมายไว้ว่า

ขอรำรำพรรณบรรยาย ตุลาคม คิดเครื่องหมาย แห่งสีทั้งสามงามถนัด

ขาวคือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ์ ตุลาคม ายพระไตรรัตน์ และธรรมะคุ้มจิตไทย

แดงคือโลหิตเราไซร้ ซึ่งย่อมสละได้ เพื่อรักษาชาติศาสนา

น้ำเงินคือสีโสภา อันจอมประชา ธโปรดเป็นของส่วนองค์

จัดริ้วเข้าเป็นไตรรงค์ จึงเป็นสีธง ที่รักแห่งเราชาวไทย

ทหารอวตารนำไป ยงยุทธวิชัย วิชิตก็ชูเกียรติสยาม

๑ ตุลาคม ๒๔๘๓

วันเกิด นิวัฒน์ ธาราพรรค์ นักวาดภาพประกอบและนักวาดการ์ตูนชื่อดังของไทย เจ้าของนามปากกา “ราช เลอสรวง” เกิดที่จังหวัดลำพูน ขณะบิดาไปรับตำแหน่งสมุห์บัญชีประจำจังหวัด เป็นลูกคนสุดท้องในจำนวนพี่น้อง ๘ คน เรียนหนังสือที่ลำพูน เริ่มรักการวาดเขียนมาตั้งแต่เด็ก ๆ จึงเข้าเรียนศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่าง รุ่นเดียวกับ รงค์ ประภาสโนบล และ จุลศักดิ์ ตุลาคม รเวช (จุก เบี้ยวสกุล) เขาเริ่มเขียนการ์ตูนโดยมีแรงบันดาลใจมากจากผู้เป็นพี่ชาย จากนั้นก็เรียนรู้จากนักวาดการ์ตูนรุ่นครู เช่น พ.บางพลี, คุณแทน และ ตุลาคม เวชกร นอกจากเขียนการ์ตูนแล้วเขายังเขียนปกหนังสือชุด “เพชรพระอุมา” ผลงานที่สำคัญคือการ์ตูนเรื่อง “สิงห์ดำ”, “จอมขมังเวทย์” ปัจจุบัน ราช เลอสรวงหยุดเขียนการ์ตูนและภาพประกอบแล้ว ตุลาคม าทำงานบรรณาธิการหนังสือ

๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๑

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย ถึงแก่อนิจกรรมที่ประเทศมาเลยเซีย ชื่อเดิมคือ ก้อน หุตะสิงห์ เป็นบุตตของนายฮวด กับแนางแก้ว หุตะสิงห์ เกิดที่กรุงเทพฯ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๔๒๗เรียนมัธยมที่โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย ต่อโรงเรียนกฏหมายกระทรวงยุติธรรม(เนติบัณฑิตสยาม) และศึกษาต่อที่โรเรียนมิดเดิล ตุลาคม เปิล (เนติบัณฑิต) ที่ประเทศอังกฤษ หลังจากการปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ิถุนายน ๒๔๗๕ คณะราษฎรได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็น ประธานคณะกรรมการราษฎร ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในการบริหาร เทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน เข้าดำรงตำในวันที่ ๒๘ ตุลาคม ิถุนายน ๒๔๗๕ พร้อมกับเสนอรายชื่อ คณะกรรมการราษฎร หรือ คณะรัฐมนตรี ชุดแรกของไทย ภายหลังจากการประชุมสภาผู้แทนคณะราษฎรครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ตุลาคม าวันที่ ๑๐ ตุลาคม ปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร จึงเปลี่ยนจาก “ประธานคณะกรรมการราษฎร” ตุลาคม าเป็น “นายกรัฐมนตรี” วันที่ ๑ ตุลาคม ษายน ๒๔๗๖ พระยานโนปกรณ์ฯ ได้กราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๗ ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ด้วยเหตุผลว่าคณะรัฐมนตรีมีความแตกแยก ในกรณี “โครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ซึ่งร่างโดย นายปรีดี ตุลาคม ยงค์ ซึ่งมีลักษณะเป็นสหกรณ์เต็มรูปแบบ แต่ไม่ทำลาย ตุลาคม สิทธิ์ในทรัพย์สินของ เอกชน โดยให้รัฐซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมด้วยพัทธบัตร ตุลาคม ีดอกเบี้ยประจำปี และให้การประกันแก่ราษฎรตั้งแต่เกิดจนตาย แต่พระยามโนปกรณ์ฯ และขุนนางบางส่วนที่ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ ได้กล่าวหานายปรีดีว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และเนรเทศออกไปอยู่ฝรั่งเศสเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ษายน ๒๔๗๖ ตุลาคม ขัดแย้งระหว่างคณะรัฐมนตรีกับคณะราษฎรรุนแรงมากขึ้นเรื่อย จนในที่สุด พระยาพหลพลพยุหเสนา และ หลวงพิบูลสงคราม ทำรัฐประหารเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ิถุนายน ๒๔๗๖ (ซึ่งเป็นรัฐประหารครั้งแรกของไทย) ปลดพระยามโนปกรณ์ฯ ออกจากตำแหน่งแล้วเนรเทศไปยังปีนัง ประเทศมาเลเซีย พำนักอยู่ที่นั่นจนถึงแก่อนิจกรรม

๒ ตุลาคม : วันสัตว์เลี้ยงโลก

๓ ตุลาคม ๒๔๑๑

ไทยโดย พระสยาม ฯ ตุลาคม ในสัญญาทางพระราชไมตรี ระหว่างไทย กับ อิตาลี

๓ ตุลาคม ๒๔๓๖

ฝรั่งเศสเข้ายึดครองแคว้นลาวอันเป็นดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงของไทย

๓ ตุลาคม ๒๔๓๖

ไทยเสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ซึ่งเป็นดินแดนประเทศลาวทั้งหมด และดินแดนด้านตะวันออกของแม่น้ำโขง ซึ่งเป็นดินแดนอาณาจักรล้านช้างเป็นพื้นที่ ๑๔๓,๐๐๐ ตร.กม. ให้แก่ฝรั่งเศส

๓ ตุลาคม ๒๔๗๘

วันวางกระดูกงู เรือหลวงคลองใหญ่ เรือหลวงตากใบ และเรือหลวงกันตัง ซึ่งต่อที่อู่อิชิกาวาจิมา กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เรือหลวงชุดนี้เป็น เรือตอร์ปิโดเล็ก กองทัพเรือได้นำเข้าประจำการเมื่อ ๒๖ ก.ย. ๒๔๘๐ และปลดระวางประจำการเมื่อ ๒๖ ตุลาคม .ค.๒๕๑๓

๔ ตุลาคม : วันสัตว์โลก

๔ ตุลาคม ๒๓๑๓

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี

๔ ตุลาคม ๒๔๔๙

แบงค์สยามกัมมาจล เปิดดำเนินงานโดยคนไทยครั้งแรก

๕ ตุลาคม - วันครูโลก, ตุลาคม แห่งชาติ

๕ ตุลาคม ๒๔๘๑

วันขึ้นระวางประจำการ เรือหลวงปัตตานี เรือหลวงสุราษฎร์ เรือหลวงจันทบุรี เรือหลวงระยอง เรือหลวงชุมพร เรือหลวงชลบุรี เรือหลวงสงขลา เรือหลวงบางระจัน เรือหลวงหนองสาหร่าย ซึ่งต่อจากประเทศอิตาลี และเรือหลวงธนบุรี ซึ่งต่อจากประเทศญี่ปุ่น

๖ ตุลาคม ๒๒๔๖

พระเพทราชา เสด็จสวรรคต

๖ ตุลาคม วันที่อยู่อาศัยโลก, วันรำลึกวีรชน ๖ ตุลา, วันครูสากล

วันที่อยู่อาศัยโลก องค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันที่อยู่อาศัยโลก (World Habitat Day) โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ชาวโลกตระหนักและสนใจในปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย และบริการพื้นฐานของประชากรโลกจำนวนหลายร้อยล้านคน สภาพแวดล้อมของมนุษย์ที่คำนึงถึงได้แก่ บ้านเรือนที่อยู่อาศัย บริการพื้นฐานต่างๆ และการมีงานทำ สภาพแวดล้อมจากบ้านของแต่ละคนสู่บ้านของเพื่อนบ้าน ตุลาคม ู่บ้านเมือง ประเทศเรื่อยไปก็จะประกอบเป็นสังคมโลก

กิจกรรม กำหนดคำขวัญในการรณรงค์ การอภิปรายและสัมมนาเกี่ยวกับปัญหาที่อยู่อาศัยในส่วนต่างๆ ของโลก ตุลาคม ทั้งการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อม

๖ ตุลาคม ๒๔๔๐

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รวมกิจการโรงเรียนทหารสราญรมย์ ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนสำหรับทหารบก และกิจการ ของโรงเรียนนายสิบเข้าด้วยกัน แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนสอนวิชาทหารบก ตุลาคม าได้มีการขนานนามและเปลี่ยนนามเป็น โรงเรียนทหารบก และ โรงเรียนนายร้อยทหารบก ตุลาคม ลำดับ ปัจจุบันโรงเรียนนี้ คือ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

๖ ตุลาคม ๒๕๐๒

กัมพูชายื่นฟ้องต่อศาลโลก เรียกร้องกรรมสิทธิ์เหนือเขาพระวิหาร ในเขตอำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษของไทย

๖ ตุลาคม ๒๕๑๙

เกิดการจลาจลในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างกลุ่มศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย กับกลุ่มต่อต้านกลุ่มศูนย์กลางนิสิตนักศึกษา เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ใช้กำลังเข้าปราบปราม และควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ จึงได้ก่อรัฐประหารล้มรัฐบาลซึ่งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี และได้ประกาศยุบสภากับยกเลิกรัฐธรรมนูญ ตุลาคม าได้มี พระบรมราชโองการแต่งตั้ง นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลได้จัดตั้งสภาปฏิรูปขึ้นมีสมาชิก ๓๔๐ คน เพื่อทำหน้าที่รัฐสภา

๖ ตุลาคม ๒๕๓๒

พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้บัญชาการทหารบก รักษาราชการผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ขณะนั้น) ในฐานะประธานคณะกรรมการร่วมมือไทย-ลาว และคณะเดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนลาว และได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระหว่างไทย-ลาว ตุลาคม กับพลเอก สีสะหวาด แก้วบุนทัน ประธานคณะกรรมการร่วมมือลาว-ไทย เพื่อส่งเสริมและขยายความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจการค้า ตุลาคม วิทยาศาสตร์ และวิชาการ ระหว่างทั้งสองประเทศ

๗ ตุลาคม ๒๔๖๓

เรือหลวงพระร่วง ซึ่งเป็นเรือพิฆาตลำแรกและลำเดียวของไทยที่ประชาชนเรี่ยไรเงินซื้อ เดินทางมาถึงประเทศไทย เรือลำนี้เดิมชื่อ เรเดียนท์ (Radiant) สร้างที่บริษัทธอร์นิครอฟ ตุลาคม ืองเซาแธมป์ตัน ประเทศอังกฤษ เคยประจำการในราชนาวีอังกฤษ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๑ ตุลาคม าประเทศไทยได้ซื้อมา เป็นเงินสองแสนปอนด์ โดยพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ฯ ตุลาคม หลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ทรงเป็นผู้บังคับการเรือ นำเรือลำนี้จากประเทศอังกฤษ ตุลาคม ายังประเทศไทย

๗ ตุลาคม ๒๕๐๓

ตั้ง ค่ายธนะรัชต์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์การทหารราบ และกองพลทหารราบที่ ๑๕ อยู่ที่อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

๗ ตุลาคม ๒๕๐๓

ตั้งค่ายธนะรัชต์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์การทหารราบ กองพลทหารราบที่ ๑๕ อยู่ที่อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

๗ ตุลาคม ๒๕๕๑

รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ สั่งให้มีการสลายการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หน้ารัฐสภา ทำให้มีการเสียชีวิต ๒ คน (น้องโบว์ อังคนา ระดับปัญญาวุฒิ และ สารวัตรจ็าบ พ.ต.ท.เมธี ชาติมนตรี หรือ"สารวัตรจ๊าบ" อดีต สวป.สภ.ห้วยทับทัน จ.ศรีสะเกษ น้องเขยของ นายการุณ ใสงาม อดีต สว.จ.บุรีรัมย์ ต้องมาสังเวยชีวิตไปกับรถระเบิด "ปริศนา") บาดเจ็บ เจ็ดร้อยเศษ จนได้รับการขนานนามว่า “ตำรวจฆ่าประชาชน”) บาดเจ็บ เจ็ดร้อยเศษ จนได้รับการขนานนามว่า “ตำรวจฆ่าประชาชน”

๘ ตุลาคม : วันสากลเพื่อการลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ

๘ ตุลาคม ๒๓๘๘

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยุ่หัว คณะมิชชันนารีอเมริกัน สามารถหล่อตัวพิมพ์อักษรไทยได้เองเป็นครั้งแรก

๘ ตุลาคม ๒๔๘๓

นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ๓,๐๐๐ คน เดินขบวนเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส

๘ ตุลาคม ๒๕๑๘

นางปทุม รุจิพันธ์ ภริยาพลเรือเอก เฉนียน รุจิพันธ์ รองผู้บัญชาการทหารเรือ ประกอบพิธีปล่อย เรือหลวงหาญหักศัตรู (ลำที่ ๔) ลงน้ำ ณ อู่ต่อเรือ ประเทศสิงคโปร์

๙ ตุลาคม ๒๑๙๙

สมเด็จพระนารายณ์ ฯ ปราบดาภิเษก เสวยราชสมบัติ

๙ ตุลาคม ๒๔๖๓

ประชาชนชาวไทยน้อมเกล้า ฯ ถวายตุลาคมพระร่วง แด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระที่นั่งราชกิจวินิตฉัย

๙ ตุลาคม ๒๕๒๗

ตั้งค่ายรัตนพล เป็นที่ตั้งของกองพันที่ ๕ ตุลาคม ทหารราบที่ ๕ อยู่ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

๙ ตุลาคม วันไปรษณีย์โลก, วันสายตาโลก, วันแห่งการมองเห็นโลก

วันแห่งการมองเห็นโลก (วันพฤหัสบดีที่สองเดือนตุลาคม) วันแห่งการมองเห็นโลก (Word Sight Day) ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้ความสำคัญกับปัญหาการมองไม่เห็นหรือภาวะตาบอดของประชาการโลกทั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วโลกตื่นตัวในการป้องกันและรักษาภาวการณ์มองไม่เห็น กระตุ้นรัฐบาลให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงเกี่ยวกับการป้องกันและดูแลดวงตาอย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดปัญหาของการมองไม่เห็น

กิจกรรม ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องตา และการป้องกัน

๙ ตุลาคม ๒๕๓๘ตุลาคมม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรม

๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ตุลาคมม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นักปราชญ์ นักเขียน ตุลาคม ือง และศิลปินแห่งชาติ ปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย ถึงแก่อสัญกรรม น้องชายของ ตุลาคม .ร.ว. เสนีย์ ปราโมช (อดีตนายกในปี ๒๔๘๘-๒๕๑๙) ตุลาคม .ร.ว. คึกฤทธิ์เกิด ๒๐ ตุลาคม ษายน ๒๔๕๔ ในเรือกลางแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ อ. อินทร์บุรี จ. สิงห์บุรี เป็นโอรสของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) เรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นไปเรียนต่อวิชาปรัชญา เศรษฐศาสตร์ และการเมือง จากวิทยาลัยควีนส์ (The Queen’s College) ตุลาคม หาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด กลับมารับราชการที่กรมสรรพากร และกระทรวงการคลัง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ เข้าเป็นทหาร ตุลาคม าได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็นพลตรีในปี ๒๕๓๑ เริ่มเล่นการเมืองตั้งแต่ปี ๒๔๘๘ โดยก่อตั้ง พรรคก้าวหน้า ตุลาคม าได้ยุบรวมกับ พรรคประชาธิปัตย์ จากนั้นก่อตั้ง พรรคกิจสังคม ในปี ๒๕๑๗ และขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ ๑๓ ของไทยเมื่อปี ๒๕๑๘ นอกจากบทบาทางการเมืองท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านหนังสือพิมพ์และวรรณกรรมด้วย โดยก่อตั้ง หนังสือพิมพ์ สยามรัฐ ในปี ๒๔๙๓ นอกจากนี้ยังมีผลงานทั้ง นวนิยาย เรื่องสั้น บทความ เรื่องแปล สารคดี ผลงานที่สำคัญได้แก่ “สี่แผ่นดิน”, “ไผ่แดง”, “กาเหว่าที่บางเพลง” ฯลฯ ท่านได้รับยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ในปี ๒๕๒๘

๑๐ ตุลาคม วันสุขภาพจิตโลก

วันสุขภาพจิตโลก เนื่องจากปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากสุขภาพจิต ทำให้สหพันธ์สุขภาพจิตแห่งโลก ได้ประกาศร้องขอไปยังนานาประเทศทั่วโลก ตุลาคม ื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้กำหนดวันที่ ๑๐ ตุลาคม ของทุกปีเป็น "วันสุขภาพจิตโลก" (World Mental Health Day ) และได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพจิตในวันสุขภาพจิตโลกของทุกปี

๑๐ ตุลาคม ๒๓๕๖ วันเกิด จูเซปเป แวร์ดี

๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๕๖ วันเกิด จูเซปเป แวร์ดี (Giuseppe Fortunino Francesco Verdi) คีตกวีชาวอิตาเลียน แห่งยุคโรแมนติก เกิดที่เมืองบุสเซ็ตโต (Busseto) ในแคว้นพาร์มา ทางเหนือของอิตาลี ในสมัยที่ยังอยู่ใต้อิทธิพลจองจักรพรรดิ นโปเลียน ที่ ๑ (Napoleon I) พ่อแม่ของเขาเปิดบริการที่พักสำหรับคนเดินทางและร้านอาหารเล็ก ๆ แวร์ดีเริ่มหัดเล่นดนตรีกับนักออร์แกนประจำหมู่บ้าน ก่อนจะถูกส่งไปเรียนดนตรีอย่างเป็นเรื่องเป็นราวในเมืองบุสเซ็ตโต จากนั้นก็ได้รับทุนไปเรียนดนตรีต่อที่เมืองมิลาน แต่เนื่องจากทฤษฎียังไม่แน่นพอจึงถูกปฏิเสธ แวร์ดีหันมาฝากตัวเป็นศิษย์ของวินเซ็นโซ ลาวินญา หัวหน้าวงดนตรีของโรงอุปรากร ลา สคลาลา (La Sclala) แห่งกรุงมิลาน จากนั้นก็แต่งเพลงอุปรากรเพลงแรกสำเร็จชื่อว่า “Oberto” เปิดแสดงครั้งแรกที่ลา สคาลานั่นเอง อุปรากรชิ้นแรกของแวร์ดีประสบความสำเร็จพอสมควร จากนั้นผู้จัดการโรงอุปรากรก็จ้างให้แวร์ดีเขียนอุปรกรออกมาอีกหลายเรื่อง ระหว่างที่เขาเริ่มจะมีชื่อเสียง ภรรยาและลูกล้มเจ็บและเสียชีวิต ทำให้แวร์ดีโศกเศร้าจนหยุดสร้างสรรค์ผลงานไปพักใหญ่ จนถึงปี ๒๓๘๕ อุปรากรชิ้นใหม่ของแวร์ดีจึงปรากฏออกมา ชื่อว่า “Nabucco” ปรากฏว่าได้รับความชื่นชมอย่างกว้างขวาง ทำให้เขามีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นทันที อุปรากรเรื่องนี้แวร์ดีซ่อนนัยทางการเมืองเอาไว้ด้วย ทำให้เขากลายเป็นสัญลักษณ์ในการต่อสู้เพื่อเอกราชของอิตาลี จากนั้นก็เขียนอุปรากรออกมาอีกหลายเรื่อง เช่น “I Lombardi”, “Ernani”, “Macbeth” (ซึ่งดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ของเชกเสปียร์), “Rigoletto”, “Il Trovatore”, “La Traviata”, “Aida”, “Otello”, “Falstaff” ในบั้นปลายชีวิต แวร์ดีประสบความสำเร็จอย่างมาก ทั้งชื่อเสียงและเงินทอง เขาเสียชีวิตด้วยอาการเส้นเลือดในสมองแตกที่มิลาน ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม กราคม ๒๔๔๔ ตุลาคม อายุได้ ๘๘ ปี

๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๕๖ วันเกิด จูเซปเป แวร์ดี

๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๕๖ วันเกิด จูเซปเป แวร์ดี (Giuseppe Fortunino Francesco Verdi) คีตกวีชาวอิตาเลียน แห่งยุคโรแมนติก เกิดที่เมืองบุสเซ็ตโต (Busseto) ในแคว้นพาร์มา ทางเหนือของอิตาลี ในสมัยที่ยังอยู่ใต้อิทธิพลจองจักรพรรดิ นโปเลียน ที่ ๑ (Napoleon I) พ่อแม่ของเขาเปิดบริการที่พักสำหรับคนเดินทางและร้านอาหารเล็ก ๆ แวร์ดีเริ่มหัดเล่นดนตรีกับนักออร์แกนประจำหมู่บ้าน ก่อนจะถูกส่งไปเรียนดนตรีอย่างเป็นเรื่องเป็นราวในเมืองบุสเซ็ตโต จากนั้นก็ได้รับทุนไปเรียนดนตรีต่อที่เมืองมิลาน แต่เนื่องจากทฤษฎียังไม่แน่นพอจึงถูกปฏิเสธ แวร์ดีหันมาฝากตัวเป็นศิษย์ของวินเซ็นโซ ลาวินญา หัวหน้าวงดนตรีของโรงอุปรากร ลา สคลาลา (La Sclala) แห่งกรุงมิลาน จากนั้นก็แต่งเพลงอุปรากรเพลงแรกสำเร็จชื่อว่า “Oberto” เปิดแสดงครั้งแรกที่ลา สคาลานั่นเอง อุปรากรชิ้นแรกของแวร์ดีประสบความสำเร็จพอสมควร จากนั้นผู้จัดการโรงอุปรากรก็จ้างให้แวร์ดีเขียนอุปรกรออกมาอีกหลายเรื่อง ระหว่างที่เขาเริ่มจะมีชื่อเสียง ภรรยาและลูกล้มเจ็บและเสียชีวิต ทำให้แวร์ดีโศกเศร้าจนหยุดสร้างสรรค์ผลงานไปพักใหญ่ จนถึงปี ๒๓๘๕ อุปรากรชิ้นใหม่ของแวร์ดีจึงปรากฏออกมา ชื่อว่า “Nabucco” ปรากฏว่าได้รับความชื่นชมอย่างกว้างขวาง ทำให้เขามีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นทันที อุปรากรเรื่องนี้แวร์ดีซ่อนนัยทางการเมืองเอาไว้ด้วย ทำให้เขากลายเป็นสัญลักษณ์ในการต่อสู้เพื่อเอกราชของอิตาลี จากนั้นก็เขียนอุปรากรออกมาอีกหลายเรื่อง เช่น “I Lombardi”, “Ernani”, “Macbeth” (ซึ่งดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ของเชกเสปียร์), “Rigoletto”, “Il Trovatore”, “La Traviata”, “Aida”, “Otello”, “Falstaff” ในบั้นปลายชีวิต แวร์ดีประสบความสำเร็จอย่างมาก ทั้งชื่อเสียงและเงินทอง เขาเสียชีวิตด้วยอาการเส้นเลือดในสมองแตกที่มิลาน ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม กราคม ๒๔๔๔ ตุลาคม อายุได้ ๘๘ ปี

๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิ ได้รับเอกราช

๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิ (Republic of the Fiji Islands) ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร ฟิจิเป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ห่างจากออสเตรเลียไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๒,๘๘๐ กิโลเมตร ประกอบไปด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า ๓๓๐ เกาะ ตุลาคม ีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๑๘,๓๐๐ ตารางกิโลเมตร ตุลาคม ืองหลวงคือ ซูวา (Suva) ตั้งอยู่บนเกาะ Viti Levu ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด ตุลาคม ีพื้นที่ ๑๐,๔๒๙ ตารางกิโลเมตร ประชากร ๘๕๖,๓๔๖ (ปี ๒๕๔๕) ๕๑% เป็นชาวพื้นเมืองฟิจิ ที่เหลือเป็นชาวอินเดียน-ฟิจิ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ตุลาคม ีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ตุลาคม แบบ Westminster ตุลาคม าได้ถือให้ทุกวันที่ ๑๐ ตุลาคม ของทุกปีเป็น “วันชาติของฟิจิ”

๑๑ ตุลาคม ๒๓๙๔

ร้อยเอกอิมเปย์ (Impey) นายทหารนอกราชการของกองทัพอังกฤษประจำอินเดีย เดินทางมาจากเมืองเมาะลำเลิง เข้ารับราชการเป็นครูฝึกทหารวังหลวง และฝึกทหารในกรมอาสาลาวและเขมร

๑๑ ตุลาคม ๒๔๕๖

นายพันเอก พระสารสาสน์พลขันธ์ (ยี อี เยรินี) อดีตเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบกคนแรกของไทย ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจพิการ ณ ตุลาคม ืองตูริน ประเทศอิตาลี ขณะอายุได้ ๕๓ ปี

๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ตุลาคม ืองจากนครราชสีมา สระบุรี และพระนครศรีอยุธยา เข้ายึดดอนเมือง และพื้นที่ทางด้านเหนือของพระนคร ตั้งกองอำนวยการใหญ่อยู่ที่สโมสรทหารอากาศ ตุลาคม อากาศยาน ดอนเมือง แล้วยื่นหนังสือเรียกร้องให้ฝ่ายรัฐบาลลาออก นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ตอบปฏิเสธ และส่งกำลังกองผสมเข้าปราบปรามจนได้ชัยชนะในวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๔๗๖ พระองค์เจ้าบวรเดชได้เสด็จหนีไปยังกรุงไซง่อน อินโดจีนฝรั่งเศส

๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เกิดเหตุการณ์ “กบฏบวรเดช

๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เกิดเหตุการณ์ “กบฏบวรเดช” ซึ่งเป็นกบฎครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย อันเป็นผลมาจากความขัดแย้งระหว่างขุนนางเก่าที่นิยมเจ้ากับฝ่ายคณะราษฎร์ผู้ทำการอภิวัตน์การปกครอง โดยคณะทหารในนาม “คณะกู้บ้านกู้เมือง” นำโดย พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหมตุลาคม พระยาจินดาจักรัตน์ตุลาคม พระยาทรงอักษร และตุลาคม พระยาศรีสิทธิสงคราม ได้นำกองกำลังทหารหัวเมืองจากนครราชสีมา สระบุรี และพระนครศรีอยุธยา บุกเข้ายึดดอนเมืองและพื้นที่ทางด้านเหนือของพระนคร โดยตั้งกองอำนวยการใหญ่อยู่ที่สโมสรทหารอากาศ ตุลาคม อากาศยาน ดอนเมือง ระหว่างวันที่ ๑๑-๒๕ ตุลาคม ๒๔๗๖ แล้วยื่นหนังสือเรียกร้องให้ฝ่ายรัฐบาลลาออก โดยอ้างเหตุผลว่า คณะรัฐมนตรีปล่อยให้มีการดูหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ และไม่พอใจที่ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี ตุลาคม ยงค์) ซึ่งคณะผู้ก่อการมองว่ามีความคิดแบบคอมมิวนิสต์ กลับมาร่วมคณะรัฐบาล นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรี ได้ตอบปฏิเสธ และส่งกำลังกองผสมนำโดย หลวงพิบูลสงคราม เข้าปราบปรามจนได้ชัยชนะในวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๔๗๖ จากนั้น พระองค์เจ้าบวรเดช ได้เสด็จลี้ภัยการเมืองไปยังอินโดจีนของฝรั่งเศส ตุลาคม ารัฐบาลได้ก่อสร้าง “อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” (คนทั่วไปรู้จักกันในชื่อ “อนุสาวรีย์หลักสี่”) ขึ้นที่บริเวณหลักสี่ เขตบางเขน เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์ปราบกบฎครั้งนี้

๑๑ ตุลาคม ๒๔๘๓

ไทยได้รับคำปฏิเสธเป็นทางการ จากรัฐบาลวีซีของฝรั่งเศส ในการที่ไทยขอดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืน โดยให้ถือลำน้ำโขงเป็นพรมแดน

๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ วันเกิด หลวงปู่ ติชนัทฮันห์

๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ วันเกิด หลวงปู่ ติชนัทฮันห์ (Thich Nhat Hanh) ตุลาคม าจารย์ด้านพุทธศาสนานิกายเซนชาวเวียตนาม ภิกษุนักรณรงค์เรื่องสันติภาพ ชื่อเดิมคือ เหงียนซวนเบ๋า (Nguyen Xuan Bao) ถือกำเนิดที่จังหวัดกวงสี ตอนกลางของเวียดนาม ตอน ๙ ขวบ ท่านเห็นปกหนังสือที่มีภาพพระพุทธองค์นั่งบนสนามหญ้าด้วยรอยยิ้มสงบงามและเต็มไปด้วยความสุข ตุลาคม ประทับใจครั้งนั้นทำให้ท่านตัดสินใจเข้าสู่เพศบรรพชิตเมื่ออายุได้ ๑๖ ปี ที่วัดตื่อฮิ้ว (Tu Hieu) ใกล้ ๆ ตุลาคม ืองเว้ อีกเจ็ดปีต่อมาจึงอุปสมบถเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายาว่า “ติชนัทฮันห์” ติช เป็นคำเรียกพระ ตุลาคม ายถึงผู้สืบทอดพุทธศาสนา ส่วน นัทฮันห์ ตุลาคม ายถึงการกระทำเพียงหนึ่ง ท่านได้เรียนรู้และฝึกฝนการดำรงสติอยู่กับปัจจุบันขณะที่วัดเซนแห่งนี้เอง ปี ๒๕๐๔ ท่านเดินทางไปศึกษาวิชาศาสนาเปรียบเทียบที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้ช่วยสอนที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สองปีหลังจากนั้น สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างเวียตนามเหนือ-ใต้เริ่มรุนแรงมากขึ้น ขณะที่ในเวียตนามใต้ก็มีความขัดแย้งภายในอย่างรุนแรง ตุลาคม ื่อ ประธานาธิบดีโงดินห์เดียม (Ngo Dinh Diem) บังคับให้ประชาชนเปลี่ยนไปนับถือคริสตศาสนาเช่นเดียวกับตนเอง ด้วยเชื่อว่าเป็นหนทางนำไปสู่การพัฒนาประเทศ ก่อให้เกิดขบวนการชาวพุทธออกมาต่อต้าน จนกระทั่งพระภิกษุรูปหนึ่งจุดไฟเผาตัวเอง ท่านติชนัทฮันห์จึงถูกเรียกตัวกลับมาช่วยแก้ไขปัญหา ตุลาคม ื่อกลับมาถึง ท่านได้ก่อตั้ง “คณะเทียบหิน” (The Sanga of Interbeing) และโรงเรียนเยาวชนเพื่อบริการสังคม (the School of Youth for Social Services หรือ SYSS) เพื่อนำพุทธศาสนามาช่วยเหลือสังคมโดยยึดหลักสันติวิธี ตุลาคม ักสอนอยู่เสมอว่า “เราไม่จำเป็นต้องแบ่งแยกว่าเราเป็นฝ่ายเหนือหรือฝ่ายใต้ เป็นพุทธหรือเป็นคริสต์ เพราะไม่ว่าเราจะเป็นอะไร ตุลาคม เจ็บปวดล้วนเป็นหนึ่งเดียวเสมอ” ด้วยแนวคิดที่อ่อนโยนและทรงพลัง ทำให้กิจกรรมของท่านประสบความสำเร็จอย่างมาก ตุลาคม ีประชาชนนับหมื่นคนอุทิศตนเป็นอาสาสมัครเพื่อสังคม นอกจากนี้ท่านยังได้ร่วมก่อตั้งสำนักพิมพ์และเขียนหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนาออกเผยแพร่หลายเล่ม ไม่นานรัฐบาลก็ส่งทหารเข้ามากวาดล้างสมาชิกในองค์กรของท่าน

ขณะที่มหาเถระสมาคมมองว่าองค์กรของท่านเป็นพวกนอกรีต ระหว่างที่สงครามเวียดนามรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ท่านได้รับนิมนต์ไปสหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นตัวแทนของชาวเวียดนามกล่าวถึงความปรารถนาและความเจ็บปวด ตุลาคม ทั้งเจรจาเพื่อการหยุดยิง และพยายามหลายวิถีทางเพื่อสันติภาพของเวียดนาม จนท่านถูกต่อต้านจากผู้นำเวียดนามเหนือ-ใต้ และถูกสั่งห้ามกลับเข้าประเทศตั้งแต่ปี ๒๕๑๖ เป็นต้นมา ก่อนที่สงครามจะสงบท่านได้สร้างชุมชนเล็ก ๆ ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสเพื่อเป็นแหล่งเจริญสติในหมู่ผู้ร่วมปฏิบัติงานเรียกร้องสันติภาพ โดยใช้ชื่อว่า “Sweet Potato” เพื่อการรำลึกถึงชาวเวียดนาม (มันเทศเป็นอาหารที่ชาวเวียดนามต้องกินในเวลาที่แร้นแค้นที่สุด) ก่อนจะขยายเป็น ตุลาคม ู่บ้านพลัม” (Plum Village) ณ ตุลาคม ืองบอร์โดซ์ ในเวลาต่อมา ปัจจุบันหมู่บ้านพลัมเป็นชุมชนแบบอย่างการปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัท ๔ ที่เน้นการเจริญสติในชีวิตประจำวันอย่างตระหนักรู้ในทุกขณะลมหายใจเข้าออก แต่ละปีผู้มาเยือนหลายพันคนจากหลายประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีการขยายสังฆะหมู่บ้านพลัมออกไปยังประเทศต่าง ๆ ตุลาคม ริกา เยอรมนี และเวียดนาม ตุลาคม ทั้งหมด ๑๒ แห่ง ทั้งยังมีกลุ่มสังฆะหรือกล่มผู้ปฏิบัติธรรมตามแนวทางของท่านติชนัทฮันห์กระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลกอีกกว่าพันกลุ่ม ส่วนประเทศไทยมีสังฆะอยู่ที่กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ ล่าสุด ท่านติชนัทฮันห์ได้จาริกธรรมมายังประเทศไทย เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ระหว่างวันที่ ๒๐-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ที่ผ่านมา

 

๑๑ ตุลาคม ๒๕๒๕

วันสถาปนา ตุลาคม ทหารราบที่ ๑๒ รักษาพระองค์ฯ (ร.๑๒ รอ.) ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองเขานก อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๓

กองทัพบกจัดตั้ง กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ ๗ เป็นหน่วยขึ้นตรงกรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ ๑ ตั้งอยู่ที่แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง

๑๒ ตุลาคม วันโรคข้อโรค

๑๒ ตุลาคม ๒๔๓๕

วันเปิดทำการสอนของโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้จัดตั้งในบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตึกสายสวลีสัณฐาคาร วัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้กุลบุตรกุลธิดา ได้รับความรู้มีการศึกษา โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ได้พัฒนาโดยลำดับ ตุลาคม าได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครูพระนคร ในวันที่ ๖ ตุลาคม ีนาคม ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามให้วิทยาลัยครูพระนครใหม่ว่า สถาบันราชภัฏ ในปี ๒๕๓๕ เป็นวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ของการจัดตั้งสถาบัน

๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๐๓๕

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา

๑๓ ตุลาคม วันตำรวจ (พ.ศ.๒๔๕๘ วันสถาปนากรมตำรวจ)

๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๓๖๑ วันเกิดของ รูดอล์ฟ ฟีร์โก นักวิทยาศาสตร์ และนักการเมืองชาวเยอรมัน ผู้ที่ได้ชื่อว่า

เป็นบิดาแห่งวิชาอายุรศาสตร์

๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ทางราชการประกาศเรียก อัฐดีบุก คืนจากประชาชน

๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๑๕

วันเกิดของ พระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด ภิรมย์ภักดี) ผู้ให้กำเนิดน้ำหวาน โซดา และเบียร์ไทยตราสิงห์

ท่านเสียชีวิตเมื่อ วันที่ ๒๓ ตุลาคม ีนาคม ๒๔๙๓

๑๓ตุลาคม ๒๔๙๓

กองทัพเรือได้มีคำสั่งให้จัด ตุลาคม ู่เรือร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ สมรภูมิเกาหลี (ม.ส.) ประกอบด้วยเรือหลวงประแส เรือหลวงบางปะกง และเรือหลวงสีชัง ไปขึ้นสมทบอยู่ในบังคับบัญชาทางยุทธการของกองเรือเฉพาะกิจสหประชาชาติที่ ๙๕ (Task Force ๙๕ : TF ๙๕ ) ตุลาคม ปฏิบัติการในสงครามเกาหลี

๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๒

สหรัฐฯ ส่งดาวเทียมเอ็กซ์พลอเรอร์ ๗ ขึ้นสู่วงโคจร เพื่อค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการแผ่รังสี และพายุแม่เหล็ก

๑๓ตุลาคม ๒๕๒๖

กองทัพบกจัดตั้ง จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรงมณฑลทหารบกที่ ๖ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด

๑๔ ตุลาคม ตุลาคม าตรฐานโลก, วัน ๑๔ ตุลาประชาธิปไตย

๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ : เกิดเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม หาวิปโยค

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ วันประชาธิปไตย เกิดเหตุการณ์ “๑๔ ตุลา” ตุลาคม หาวิปโยค” นับเป็นการแสดงพลังทางการเมืองของประชาชนครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ ตุลาคม ื่อนิสิต นักศึกษาและประชาชนกว่า ๕๐๐,๐๐๐ คนชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญและคัดค้านอำนาจรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร (ซึ่งทำรัฐประหารยึดอำนาจตัวเองเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔) การเดินขบวนเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกไปตามถนนราชดำเนินสู่ลานพระบรมรูปทรงม้า ก่อนจะปะทะระกับเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหาร กลายเป็นการจราจล และเกิดการนองเลือด ตุลาคม ีนักศึกษาและประชาชนสูญเสียชีวิต ๗๗ คนและบาทเจ็บ ๘๕๗ คน เหตุการณ์สงบลงในค่ำวันที่ ๑๕ ตุลาคม ตุลาคม ื่อ ๓ ทรราช ถนอม ประภาส ณรงค์ หนีออกนอกประเทศ และมีการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกฯ คนใหม่

ปัจจุบันได้มีการก่อสร้าง “อนุสรณ์สถาน ๑๔ ตุลา” ขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ดังกล่าวบริเวณ สี่แยกคอกวัว ถนนราชดำเนินกลาง พร้อมทั้งก่อตั้งมูลนิธิ ๑๔ ตุลา ขึ้นด้วย

ต่อมาในปี ๒๕๔๕ รัฐบาลได้มีการกำหนดให้วันที่ ๑๔ ตุลาคม ของทุกปีเป็น “วันประชาธิปไตย” เพื่อรำลึกถึงพลังบริสุทธิ์ของคนหนุ่มสาวที่เสียสละชีวิตเพื่อประชาธิปไตย

เหตุการณ์ ๑๔ ตุลา ๑๖ นับเป็นการแสดงพลังทางการเมืองของประชาชนครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๓

วันเกิดของ ดไวท์ เดวิด ไอเซนฮาวท์ ประธานาธิบดีคนที่๓๔ ของสหรัฐฯสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารที่เวสต์ปอยท์ และแต่งงานเมื่ออายุ ๒๕ ตุลาคม ื่อสงครามโลกครั้งที่๑ ได้ปฎิบัติหน้าที่ราชการสำคัญหลายอย่างจนสงครามสงบ เข้าทำงานอยู่กระทรวงกลาโหม ตุลาคม าได้รับตำแหน่งนายทหารผู้ช่วยของนายพลแมคอาร์เธอร์ ในฟิลิปปินส์ ในสงครามโลกครั้งที่๒ ได้รับตำแหน่งหัวหน้าเสนาธิการใหญ่ และมีส่วนสำคัญช่วยให้กองทัพพันธมิตรมีชัยในสงครามโลกครั้งที่๒ ในปี ๒๔๙๖ ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี ของอเมริกา และเป็นริพับบลิกันคนแรก ในรอบ ๒๐ ปีที่ได้รับตำแหน่งนี้

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๒

ประเทศไทย สมัครเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ว่าด้วยการเดินอากาศระหว่างประเทศซึ่งได้มีการเจรจาและลงนาม โดยภาคีประเทศต่าง ๆ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

๑๔ตุลาคม ๒๔๖๒

ตั้ง ค่ายจักรพงษ์ เป็นที่ตั้งของมณฑลทหารบกที่ ๑๒, กองพันทหารราบที่ ๑ และกองพันทหารราบที่ ๒ ตุลาคม ทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒ รักษาพระองค์ อยู่ที่อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒

ออกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ไทย ตุลาคม สงฆ์มหานิกาย และธรรมยุติกนิกาย เข้าเป็นนิกายเดียวกัน

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ เจ้าเพชรา อุปราชลาว สิ้นพระชนม์

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๓

การรถไฟ เปิดเดินขบวนพิเศษสุดสัปดาห์ ระหว่างกรุงเทพ-หัวหินเป็นครั้งแรก

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๘

รัสเซีย ส่งดาวเทียม โมลนยา ขึ้นสู่วงโคจร เพื่อการสื่อสาร

๑๔ ตุลาคม ๒๔๖๒

ตั้งค่ายจักรพงษ์ เป็นที่ตั้งของมณฑลทหารบกที่ ๒ ตุลาคม ทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์ อยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ : หนังสือวินนี เดอะ พูห์ ตีพิมพ์เป็นครั้งแรก

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ วินนี เดอะ พูห์ (Winnie the Pooh) หนึ่งในหนังสือชุดหมีพูห์ ซึ่งประพันธ์โดยตุลาคม ตุลาคม ิล์น (Alan Alexander Milne) ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกและเป็นเล่มแรกที่ทำให้เจ้าหมีพูห์ เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง หนังสือชุดหมีพูห์ เป็นหนังสือเด็กชุดคลาสสิกที่ได้รับความนิยมตลอดกาล ถูกแปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า ๒๕ ภาษา ได้รับการตีพิมพ์ไปแล้วกว่า ๗๐ ล้านเล่ม ภาพประกอบในหนังสือเล่มนี้เป็นฝีมือของ Ernest H. Shepard การ์ตูนเรื่องนี้ตุลาคม ตุลาคม ิล์น เขียนเรื่องนี้โดยได้แบบตัวละครมาจากลูกชายของเขา คริสโตเฟอร์ โรบิน (Christopher Robin) ตุลาคม ีวินนี ในสวนสัตว์ลอนดอนซึ่งเป็นสัตว์ตัวโปรดของคริสโตเฟอร์ ตุลาคม ทั้งเหล่าตุ๊กตารูปสัตว์ต่าง ๆ อย่าง ตุ๊กตาหมีวินนี เดอะ พูห์, พิกเล็ต, ทิกเกอร์ หรือ อียอร์ การกำเนิดหนูน้อยคริสโตเฟอร์ โรบิน ในปี ๑๙๒๐ เป็นเหตุการณ์ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์วรรณกรรมเยาวชน

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๑๖๐๙

วิลเลียม ดยุคแห่งนอร์มังดี (William Duke of Normandy) นำทัพชาวนอร์มังดี ซึ่งตั้งถิ่นฐานแถบภาคเหนือของฝรั่งเศสรุกรานอังกฤษจนได้ชัยชนะเหนือ พระเจ้าฮาโรลด์ที่ ๒ (King Harold II of England) กษัตริย์อังกฤษ หรือชาวแองโกล-แซกซอน (Anglo-Saxon) ในการรบที่สมรภูมิเฮสติงส์ (Battle of Hastings) วิลเลียมเป็นชาวนอร์มันคนแรกที่ขึ้นเป็นกษัตริย์อังกฤษจนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในปี ๑๖๓๐ พระองค์เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “วิลเลียมผู้พิชิต” (William The Conqueror) พระองค์ได้ทรงนำศิลปวัฒนธรรมของชาวนอร์มันเข้ามาเผยแพร่ในอังกฤษ จนมีอิทธิพลอย่างมากต่อในอังกฤษสมัยยุคกลาง ไม่ว่าจะเป็นระบอบการปกครอง ระบบกฎหมาย และภาษา

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๙

วินนี เดอะ พูห์ (Winnie-the-Pooh) หนึ่งในหนังสือชุดหมีพูห์ ของตุลาคม ตุลาคม ิล์น (Alan Alexander Milne) ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรก ทำให้เจ้าหมีพูห์ เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ภาพประกอบในหนังสือเล่มนี้เป็นฝีมือของ Ernest H. Shepard การ์ตูนเรื่องนี้ตุลาคม ตุลาคม ิล์น เขียนเรื่องนี้โดยได้แบบตัวละครมาจากลูกชายของเขา คริสโตเฟอร์ โรบิน (Christopher Robin) ตุลาคม ีวินนี ในสวนสัตว์ลอนดอนซึ่งเป็นสัตว์ตัวโปรดของคริสโตเฟอร์ ตุลาคม ทั้งเหล่าตุ๊กตารูปสัตว์ต่าง ๆ อย่าง ตุ๊กตาหมีวินนี เดอะ พูห์, พิกเล็ต, ทิกเกอร์ หรือ อียอร์ การกำเนิดหนูน้อยคริสโตเฟอร์ โรบิน ในปี ๑๙๒๐ เป็นเหตุการณ์ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์วรรณกรรมเยาวชน ตุลาคม าได้มีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเผยแพร่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก หนังสือชุดหมีพูห์ เป็นหนังสือเด็กชุดคลาสสิกที่ได้รับความนิยมตลอดกาล ถูกแปลเป็นภาษาต่าง ๆ กว่า ๒๕ ภาษา ได้รับการตีพิมพ์ไปแล้วกว่า ๗๐ ล้านเล่ม

๑๔ตุลาคม ๒๕๑๖

วันที่ประวัติศาสตร์ไทยบันทึกไว้ว่า ตุลาคม หาวิปโยค เกิดเหตุการณืที่นักเรียนนักศึกษา และประชาชนเดินขบวนเรียกร้องประชาธิปไตย ในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดการปะทะกับฝ่ายทหารตำรวจ ทำให้นักศึกษาและประชาชนเสียชีวิตจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ขณะนั้นได้เดินทางออกนอกประเทศ และนายสัญญา ตุลาคม ศักดิ์ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีแทน

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๘

วันเกิด ฟลอยด์ แลนดิส (Floyd Landis) นักแข่งจักรยานชาวอเมริกัน แชมป์ตูร์ เดอร์ ฟรองซ์ ปี ๒๐๐๖ เขาเป็นชาวอเมริกันคนที่ ๓ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศต่อจาก ตุลาคม อนด์ และแลนซ์ อาร์มสตรอง เขาเคยอยู่ทีมไปรษณีย์สหรัฐ (American Post) ตุลาคม เดียวกับแลนซ์ ตุลาคม ื่อปี ๒๐๐๒ ก่อนจะย้ายมาอยู่ทีมโฟแนก (Phonak) แต่ถูกไล่ออกเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๙ หลังจากผลการทดสอบยืนยันว่าเขาใช้สารกระตุ้นในการแข่งขัน ตูร์ เดอ ฟรองซ์ ตุลาคม ื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ปัจจุบันเขายังคงปั่นจักรยานอยู่ที่บ้านเกิดหรัฐอเมริกา

๑๔ตุลาคม ๒๕๒๘

คุณหญิง ปราณีต ศิริธร ภริยาพลเรือเอก นิพนธ์ ศิริธร ผู้บัญชาการทหารเรือ ประกอบพิธีปล่อย เรือหลวงกันตัง (ลำที่ ๒) ลงน้ำ ณ อู่บริษัทอิตัลไทย จำกัด ที่จังหวัดสมุทรปราการ

๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี แห่งราชอาณาจักรกัมภูชา เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงเป็นพระราชโอรสใน สมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับ สมเด็จพระราชินีนโรดม ตุลาคม ณีนาถ สีหนุ ตุลาคม ื่อพระบิดาได้สละราชสมบัติเมื่อวันที่ ตุลาคม ๒๕๔๗ ก็ได้ทรงขอให้รัฐบาลกัมพูชาเลือกกษัตริย์กัมพูชาพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชสมบัติแทน ในที่สุดรัฐบาลกัมพูชาได้อัญเชิญ เจ้านโรด ตุลาคม สีหมุนี ขึ้นครองราชย์และจัดพระราชพิธีราชาภิเษก ไปเมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๔๙๖ ทรงสนพระทัยในด้านศิลปะและนาฏกรรม ทรงสำเร็จการศึกษาวิชานาฏกรรม ดนตรี และการละครชั้นสูง จากสถาบันศิลปะการดนตรีกรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก และด้านภาพยนตร์ที่ประเทศเกาหลี ทรงเป็นอาจารย์สอนการเต้นรำคลาสสิกและศิลปะที่กรุงปารีสระหว่างปี ๒๕๒๔-๒๕๔๓ ทั้งยังทรงเป็นผู้อำนวยการและผู้กำกับศิลป์แห่งสมาคมภาพยนตร์เขมร “เขมราทัศน์” ระหว่างปี ๒๕๓๑-๒๕๓๖ ด้วย ทรงเคยเป็นเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งกัมพูชาประจำสหประชาชาติ และประจำยูเนสโก ระหว่างปี ๒๕๓๖-๒๕๔๗ หลังจากที่เสด็จขึ้นครองราชย์ ได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่ทรงเข้าพระทัยสังคมกัมพูชาและทรงวางพระองค์ห่างเหินจากประชาชน แต่หลังจากทรงประกอบพระราชกรณียกิจอย่างต่อเนื่องนับจากเสด็จขึ้นครองราชย์ ก็ทรงได้รับการสรรเสริญยกย่องจากประชาชนในที่สุด

๑๕ ตุลาคม วันไม้เท้าขาวโลก,วันสตรีชนบทโลก

วันไม้เท้าขาวโลก ไม้เท้าขาว คือ สัญลักษณ์ของคนตาบอดทั่วโลก วิชาที่สำคัญและจำเป็นมากสำหรับคนตาบอดในการเคลื่อนไหวและการเดินทางคือวิชา ตุลาคม คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว ซึ่ง ดร.ริชาร์ด อี ฮูเวอร์ เป็นผู้ริเริ่มและพัฒนาขึ้น ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเห็นประโยชน์และความสำคัญของไม้เท้าขาวที่มีต่อคนตาบอดประธา

นาธิบดีลินดอน บี.จอห์นสัน จึงประกาศให้วันที่ ๑๕ ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันไม้เท้าขาวโลก (THE WHITE CANE DAY) ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๐๗ เป็นต้นมา

กิจกรรม แรลลี่ไม้เท้าขาวและกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพสำหรับคนตาบอด โดยมีมูลนิธิราชสุดา และวิทยาลัยราชสุดา ตุลาคม าวิทยาลัยมหิดลประสานงาน

๑๕ ตุลาคม ๒๔๗๕

ตั้ง กองพันนาวิกโยธิน ขึ้นครั้งแรก โดยขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาของกรมชุมพลทหารเรือ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ กองทัพเรือได้ยุบกรมชุมพลทหารเรือเป็นสถานีทหารเรือกรุงเทพ จัดตั้งกองพันพาหนะซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของทหารนาวิกโยธิน ตุลาคม า พ.ศ.๒๔๗๖ ได้เปลี่ยนชื่อกองพันพาหนะเป็น กองพันนาวิกโยธิน

๑๕ ตุลาคม ๒๔๗๙

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทรงประกอบพิธีเปิด อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ (อนุสาวรีย์ ๑๗ ทหารและตำรวจ หรืออนุสาวรีย์ปราบขบถ) ตั้งอยู่ที่สี่แยกถนนพหลโยธิน หลักสี่ เขตบางเขน

๑๕ ตุลาคม ๒๕๓๕

-ตั้ง ค่ายทองทีฆายุ เป็นที่ตั้งของกรมการสัตว์ทหารบก อยู่ที่บ้านต้นสำโรง ตำบลธรรมศาลา อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม

-ตั้ง ค่ายจิรวิชิตสงคราม เป็นที่ตั้งของศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธกองทัพบก อยู่ที่อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

๑๖ ตุลาคม - วันอาหารโลก, วันภูมิแพ้โลก

วันอาหารโลก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ เป็นองค์การชำนาญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ถือกำเนิดหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุด สงครามได้สร้างความหายนะ

ให้แก่ระบบการเกษตร ประชากรโลกต้องประสบปัญหาความอดอยากหิวโหย จึงได้มีการประชุมเพื่อแก้ปัญหาเมื่อ ปี ๒๔๘๖ โดยผู้แทนจาก ๔๔ ประเทศ ที่ประชุมมีมติให้ตั้งหน่วยงานระหว่างประเทศดูแลปัญหานี้ โดยมีการประชุมตั้งองค์การอาหารและเกษตรขึ้นเป็นครั้งแรกที่เมืองควีเบค ประเทศแคนนาดา ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๘๘

ต่อมาประเทศสมาชิกขององค์การ ประมาณ ๑๕๐ ประเทศได้จัดให้มีวันอาหารโลก ( World Food Day) ขึ้นในวันที่ ๑๖ ตุลาคม ของทุกปี เพื่อเป็นการรำลึกถึงวันสถาปนาองค์การฯ วัตถุประสงค์ของการจัดงาน ก็เพื่อเสริมสร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศในการต่อสู้กับความหิวโหยและภาวะทุพโภชนาการ ตุลาคม ทั้งสาเหตุของความทุกข์ทั้งสองประการนั้นคือความยากจน ทำให้ชาวโลกตระหนักถึงปัญหาการขาดแคลนอาหารและช่วยกันหาวิถีทางในการแก้ไข

วันภูมิแพ้โลก องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้วันที่ ๑๖ ตุลาคม ของทุกปีเป็น “วันภูมิแพ้โลก”(World Allergy Day) ซึ่งในประเทศไทยก็ตื่นตัวในเรื่องนี้

โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่พบได้บ่อย โรคกลุ่มนี้ได้แก่โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้หรือแพ้อากาศ โรคหืดลมพิษเรื้อรังและโรคอื่นๆ โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้จะมีอาการสำคัญ ได้แก่ จาม คันจมูก ตา และลำคอ ตุลาคม ีน้ำมูกใสๆ ไหลออกมาบ่อยๆ รู้สึกจมูกตัน ตาแดง และมีน้ำตาไหล โรคหืดทำให้มีอาการ ไอและหอบ ตุลาคม พิษเรื้อรัง จะมีผื่นคันตามผิวหนังเป็นๆ หายๆ อาการภูมิแพ้ เป็นปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้นจากสารบางอย่างที่เรียกว่า สารแพ้

๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๓๖ : พระนาง ตุลาคม ารี อองตัวแนตต์ ถูกประหารชีวิต

๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๓๖ พระนาง ตุลาคม ารี อองตัวแนตต์ (Marie Antoinette) พระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระมเหสีของ พระเจ้าหลุยส์ ที่ ๑๖ (Louis XVI) ถูกประหารชีวิตด้วยเครื่องกิโยตีน ในระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส พระนางมารีประสูติเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๒๙๘ ในพระราชวังฮอฟบูร์ก (Hofburg Palace) กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ทรงถูกเลี้ยงดูมาอย่างไม่เข้มงวดมากนัก ได้รับการศึกษาเช่นราชนิกูลองค์อื่น ๆ แต่พระนางก็มีผลการศึกษาได้ไม่ดีนัก ขณะพระชนมายุได้ ๑๔ ชันษา ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับ ตุลาคม กุฏราชกุมารแห่งฝรั่งเศส หลุยส์ ออร์กุสต์ (Louis-Auguste) ณ พระราชวังแวร์ซายส์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๓๑๓ ขณะมีพระชนมายุ ๑๕ ชันษา

ต่อมามกุฏราชกุมารหลุยส์ ออร์กุส์ได้ขึ้นครองราชในปี ๒๓๑๗ เป็น พระเจ้าหลุยส์ ที่ ๑๖ และสถาปนาพระนางมารีเป็นพระราชินี พระนางพยายามมีอิทธิพลทางการเมืองเหนือพระมหากษัตริย์ ด้วยการแต่งตั้งและถอดถอนรัฐมนตรีเป็นว่าเล่น และต่อต้านการปฏิรูปการคลัง ขณะเดียวกันใช้ชีวิตอย่างหรูหราฟุ่มเฟือยในพระราชวัง ทั้งซื้อทรัพย์สินเครื่องแต่งตัวเครื่องประดับราคาแพงจำนวนมาก ปรับปรุงพระตำหนัก และมักจัดงานเลี้ยงหรูหราฟุ่มเฟือยอยู่บ่อยครั้ง การที่พระนางทรงนำเงินภาษีของประชาชนมาใช้อย่างฟุ่มเฟือย ส่งผลให้รัฐบาลฝรั่งเศสยิ่งต้องเก็บภาษีขูดรีดประชาชนมากขึ้น จนเกิดปัญหาเศรษฐกิจ ประชาชนอดอยากขาดแคลนอย่างมาก พระนางมารี อองตัวแนตต์จึงเป็นที่เกลียดชังของประชาชนจำนวนมาก ตุลาคม ีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งมีผู้กราบทูลพระนางว่า ขณะนี้บ้านเมืองกำลังถึงวิกฤติ ประชาชนไม่มีขนมปังจะกินแล้ว แต่พระนางกลับตอบว่า “ก็ให้เขากินเค้กแทนสิ” ในที่สุดประชาชนทั้งประเทศก็พร้อมใจกันทำการปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution) ในช่วงปี ๒๓๓๒-๒๓๔๒ ล้มล้างระบอบกษัตริย์เปลี่ยนเป็นระบอบประชาธิปไตย ทำการไต่สวนพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๖ และตัดสินประหารชีวิตในข้อหาทรยศชาติเมื่อนที่ ๒๑ ตุลาคม กราคม ๒๓๓๖ ภายหลังพระนางมารีก็ถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยเครื่องกิโยตีนเช่นเดียวกัน

๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๘๙ : วิลเลียม ตุลาคม อร์ตัน สาธิตการใช้ยาสลบอีเทอร์ในการผ่าตัดต่อหน้าสาธารณชน

๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๘๙ วิลเลียม ตุลาคม อร์ตัน (William Thomas Green Morton) แพทย์ชาวอเมริกัน สาธิตการใช้ยาสลบ อีเทอร์ (Ether) ในการผ่าตัดต่อหน้าสาธารณชนอยางเป็นทางการครั้งแรก ที่โรงพยาบาลแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา โดยให้คนไข้สูดดมก๊าซอีเทอร์ก่อนทำการผ่าตัดเนื้องอกที่คอ ทำให้คนไข้ไม่รู้สึกเจ็บปวดแม้แต่น้อย ตุลาคม สำเร็จในการผ่าตัดครั้งนี้ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของวงการศัลยกรรม นับเป็นการปฏิวัติวงการศัลยกรรมเลยทีเดียว ทำให้การผ่าตัดวิธีใหม่ ๆ เป็นไปได้ง่ายขึ้น แม้มอร์ตันจะไม่ใช่แพทย์คนแรกที่ใช้อีเทอร์เป็นยาสลบ โดยก่อนหน้านั้น คลอฟอร์ด ลอง (Dr. Crawford Long) แพทย์และเภสัชกรชาวอเมริกัน เคยใช้อีเทอร์เป็นยาสลบในการผ่าตัดทำคลอดคนไข้รายหนึ่งเมื่อวันที่ ตุลาคม ีนาคม ๒๓๘๕ แต่หมอลองก็ไม่ได้เผยแพร่ผลการรักษาดังกล่าว จนกระทั่ง แกได้นำมาเผยแพร่ลงในวารสาร The Southern Medical and Surgical Journal เป็นครั้งแรกในปี ๒๔๑๑หลังมอร์ตันถึง ๒๒ ปี แต่อย่างไรก็ตาม การค้นพบอีเทอร์ก็ได้ส่งผลให้มีการใช้ก๊าซชนิดนี้เป็นยาระงับความรู้สึกกันอย่างแพร่หลายในวงการศัลยกรรมในเวลาต่อมา และทำให้มนุษย์ไม่ต้องประสบกับความเจ็บปวดในระหว่างการผ่าตัด หรือเสียชีวิตเนื่องจากทนความเจ็บปวดระหว่างการผ่าตัดไม่ไหว

๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๒

วันขึ้นระวางประจำการ เรือหลวงเปริด ซึ่งเป็นเรือบรรทุกน้ำมันเตา สังกัดหมู่เรือที่ ๔ กองเรือยกพลขึ้นบกและบริการ กองเรือยุทธการ ตุลาคม อู่ทหารเรือ

๑๗ ตุลาคม วันสากลเพื่อขจัดความยากจน

๑๗ ตุลาคม ๒๕๑๓

คุณหญิง ไสว เฉลิมเตียรณ ภริยาพลเรือเอก จรูญ เฉลิมเตียรณ ผู้บัญชาการทหารเรือขณะนั้น ประกอบพิธีปล่อย เรือหลวงตาปี ลงน้ำ ณ อู่ American Shipbuilding Co. ตุลาคม ืองโทเลโด ตุลาคม ลรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา

๑๘ ตุลาคม วันห้องสมุดโรงเรียนโลก

๑๘ ตุลาคม ๒๒๒๘

เชอวาเลีย เดอโชมองต์ ถวายพระราชสาส์นของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แด่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ลพบุรี

๑๘ ตุลาคม ๒๓๔๗

วันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนามเดิมสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฏ ฯ ทรงเป็นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อ วันที่ ๒ ตุลาคม ษายน ๒๓๙๔ พระองค์ยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงความรอบรู้ ตุลาคม เป็นไปทางวิชาการ ทั้งทางโลกและทางพุทธศาสตร์ ทรงรอบรู้ทั้งในทางการเมือง ศาสนาวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ทรงเชี่ยวชาญทั้ง ภาษาอังกฤษ ภาษามคธ และบาลี

๑๘ตุลาคม ๒๔๙๐

วันสิ้นพระชนม์ของพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ตุลาคม หลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร พระชนม์ ๖๔ พรรษา พระนามเดิม พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ ต้นราชสกุล วุฒิชัย พระราชโอรสองค์ที่ ๔๒ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ ๓ ในเจ้าจอมมารดาทับทิม

๑๙ ตุลาคม - วันเทคโนโลยีของไทย

๒๐ ตุลาคม วันโรคกระดูกพรุนโลก

วันโรคกระดูกพรุนโลก ในปี ๒๕๓๙ สมาคมโรคกระดูกพรุนแห่งชาติของอังกฤษได้ริเริ่มให้มีการกำหนดให้วันที่ ๒๐ ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันกระดูกพรุนโลก (World Osteoporosis Day) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนตื่นตัวเห็นความสำคัญของโรคนี้และร่วมป้องกันและแก้ไขและต่อมาได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติและองค์การอนามัยโลก

โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่ความหนาแน่นของมลวกระดูกลดลง เนื่องจากการเสื่อมสลายของกระดูกมากขึ้น ปริมาณเนื้อกระดูกลดลง ทำให้กระดูกอ่อนแอ เกิดการแตกหักหรือแตกยุบของกระดูกได้ง่าย

๒๐ ตุลาคม ๒๔๖๒

วันสวรรคต สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถ พระราชสมภพ ๑ ตุลาคม .ค. ๒๔๐๖

๒๐ ตุลาคม ๒๔๘๓

พลตรี หลวงพิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศมติของชาติไทย ทางวิทยุกระจายเสียง ตุลาคม ีใจความว่า “ชาติไทยต้องการปรับปรุงเส้นเขตแดน กับอินโดจีนฝรั่งเศสให้เป็นไปด้วยความยุติธรรม ให้เป็นผลสำเร็จโดยไม่ยอมถอยหลัง”

๒๐ ตุลาคม ๒๔๙๑

กองอำนวยการศึกษาและวิจัย ถือกำเนิดขึ้น โดยพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการกรมเสนาธิการกลาโหม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๔๙๑ จัดเป็นหน่วยขึ้นตรงของกรมเสนาธิการกลาโหม กองอำนวยการศึกษาและวิจัยนี้ ตุลาคม าได้เลื่อนฐานะ และ แปรสภาพมาตามลำดับจนเป็น ตุลาคม ยุทธศึกษาทหาร ตุลาคม ื่อ พ.ศ.๒๕๓๗

๒๐ ตุลาคม ๒๕๐๑

คณะปฏิวัตินำโดยพลเอก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะปฏิวัติ ก่อรัฐประหารเข้ายึดอำนาจจาก พลโท ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี

๒๐ตุลาคม ๒๕๒๐

คณะปฏิวัตินำโดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ได้ก่อรัฐประหารล้มรัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียร นายกรัฐมนตรี เนื่องจากการบริหารงานของรัฐบาลไม่อาจดำเนินการแก้ไขปัญหาสำคัญ ๆ ของประเทศ ตุลาคม าได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ขณะนั้น ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิวัติ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานสภานโยบาย และได้มีการแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จำนวน ๓๖๐ คน

๒๐ตุลาคม ๒๕๓๒

วันสถาปนา สำนักงานจเรทหาร สำนักผู้บัญชาการทหารสูงสุด (สจร.สน.ผบ.ทหารสูงสุด)

๒๑ ตุลาคม ๒๔๔๓ วันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

วันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสำเร็จการศึกษาแผนกสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเมื่อปี ๒๔๖๓ ได้อภิเษกสมรสเป็นหม่อมสังวาลย์ ตุลาคม หิดล ณ อยุธยา ในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ฯ ในปี ๒๔๘๐ ได้รับโปรดเกล้า ฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ ๘) ให้สถาปนาขึ้นเป็นพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ตุลาคม ลำดับ ตุลาคม ื่อ ๙ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๑๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้า ฯ ให้เป็น สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี

๒๑ ตุลาคม วันสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ, วันพยาบาลแห่งชาติ, วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ, วันรักต้นไม้แห่งชาติ

วันพยาบาลแห่งชาติ สภาการพยาบาลเป็นองค์การวิชาชีพตามกฎหมาย ซึ่งก่อใต้ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.๒๕๒๘ ทำหน้าที่คุ้มครองและพิทักษ์

สิทธิประโยชน์ของผู้รับบริการ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลละการผดุงครรภ์ ซึ่งได้รับพระเมตตาจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นผู้อุปถัมภ์ และทรงโปรดเกล้าพระราชทานวันที่ ๒๑ ตุลาคม อันเป็นวันพระราชสมภพ เป็นวันพยาบาลแห่งชาติ

กิจกรรม จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ให้บริการตรวจสุขภาพแก่ประชาชน

วันทันตสาธารณสุข ใน พ.ศ.๒๕๒๙ ตุลาคม ูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนีได้ประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุข คณะทันตแพทยศาสตร์ของทุกมหาวิทยาลัย ตุลาคม หานคร และทันตแพทยสมาคมฯ จัด "กิจกรรมรณรงค์ทันตสาธารณสุข" ตุลาคม เป็นพระราชกุศลเนื่องในวโรกาสวันพระราชสมภพ วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๙ เป็นครั้งแรก โดยระดมทันตบุคลากร อาสาสมัครจากภาครัฐบาลและเอกชนทั่วประเทศออกไปให้บริการตรวจรักษาฟันโดยไม่คิดมูลค่าแก่ประชาชนไนถิ่นทุรกันดารห่าไกลการคมนาคมในเขต ๔๘ จังหวัด โดยใน พ.ศ. ๒๕๓๒ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้วันที่ ๒๑ ตุลาคม ของทุกปี เป็นวัน " วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ "

"สมเด็จย่าทรงพระเมตตาให้ปวงประชามีฟันดี"

วันรักต้นไม้ประจำปีของชาติ โดยที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี ตุลาคม ีพระราชปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะฟื้นฟูความสมดุลของธรรมชาติ โดยทรงปลูกและบำรุงต้นไม้ด้วยพระองค์เองมาโดยตลอด และทรงให้ความสำคัญของการบำรุงรักษาต้นไม้ที่ปลูกมากกว่าการปลูก ดังนั้นเพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี ที่ทรงงานพัฒนาชนบทขอประเทศไทยโดยเฉพาะการฟื้นฟูสมดุลของธรรมชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เสนอคณะรัฐมนตรีกำหนดให้วันพระราชสมภพของพระองค์ คือ วันที่ ๒๑ ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันบำรุงรักษาต้นไม้ประจำปีของชาติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับไปดำเนินการปรากฏว่า ชื่อที่เหมาะสมคือ "วันรักต้นไม้ประจำปีของชาติ"

กิจกรรม บำรุงรักษาต้นไม้ อนุรักษ์พื้นที่สีเขียว รณรงค์เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ

๒๒ ตุลาคม ๒๔๐๑

โรงสีข้าวแห่งแรกของไทยเปิดทำการ ตุลาคม าเมื่อ ๑๐ ตุลาคม ๒๔๐๙ เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารา ได้ซื้อโรงสีจากบริษัทสก๊อตแอนด์กำปะนี นับเป็นคนไทยคนแรกที่ตั้งโรงสีไฟในไทย

๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๓

รัฐบาลไทยได้ส่งทหารไทยไปปฏิบัติการรบร่วมกับสหประชาชาติ ในสมรภูมิเกาหลี กำลังทางบกเดินทางไปกับเรือสินค้าเดนมาร์ก ชื่อ เฮอร์ตาเมอร์สก์ (Herta Maersk) นายแพทย์และเจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์สภากาชาดไทยเดินทางร่วมไปกับกำลังทางเรือใน เรือหลวงสีชัง เรือหลวงประแส และเรือหลวงบางปะกง เรือทั้ง ๓ ลำนี้ ทำหน้าที่เป็นเรือคุ้มกันด้วย

๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๙

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเสด็จไปประทับ ณ พระตำหนักเพชร วัดบวร ฯ ตุลาคม ๑๕ วัน ระหว่างทรงผนวช สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

๒๒ ตุลาคม ๒๕๓๓

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไปทรงวางศิลาฤกษ์ อนุสาวรีย์ทหารผ่านศึกเวียดนาม ณ บริเวณสี่แยกคำขวัญ กองพลทหารราบที่ ๙ ค่ายสุรสีห์ ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตด้วยพระโรคพระวักกะ (ไตพิการ) ตุลาคม พระชนมายุ ๕๗ พรรษา ทางราชการกำหนดให้วันนี้เป็นวันปิยมหาราช และหยุด ๑ วัน ส่วนราชการและประชาชนจะนำพวงมาลา ไปถวายบังคมสักการะที่พระบรมรูปทรงม้า เป็นประจำทุกปี

๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ ตุลาคม ื่อพระชนมายุได้ ๓๑ พรรษา

๒๓ ตุลาคม - วันปิยมหาราช

๒๓ตุลาคม ๒๕๓๑

พลเรือตรี ปรีชา กาญจนรัตน์ ผู้บัญชาการกรมนาวิกโยธินขณะนั้น เป็นประธานในพิธีเททองหล่อพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาดเท่าพระองค์จริง เพื่อประดิษฐานไว้ที่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ค่ายตากสิน (กองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรี-ตราด)

๒๔ ตุลาคม - วันสหประชาชาติ, วันพัฒนาข้อมูลข่าวสารโลก

วันสหประชาชาติ

สหประชาชาติ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ เลขาธิการคนปัจจุบันคือ นาย ตุลาคม ุน ชาวเกาหลีใต้ เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม กราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ต่อจาก นายโคฟี อันนัน

สหประชาชาติ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง โดยความร่วมมือของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา นายแฟรงคลิน ดี รูสเวท์ และนายกรัฐมนตรีแห่งอังกฤษคือ นายวินสตัน เซอร์ชิล (ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น) เดิมสหประชาชาติใช้ชื่อเต็มในภาษาอังกฤษว่า United Nations Organization หรือ UNO แต่มักถูกเรียกว่า United Nations หรือ UN คำว่า สหประชาชาติ ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม กราคม พ.ศ.๒๔๘๕ ในเอกสาร "คำประกาศโดยสหประชาชาติ" ซึ่งมีประเทศมหาอำนาจ ๔ ประเทศ ตุลาคม ในประกาศฉบับนี้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จีน และ สหภาพโซเวียต

การประชุมเพื่อจัดตั้งสหประชาชาติได้จัดขึ้น ๕ ครั้ง ได้แก่

การประชุมบนเรือออกุสตา ในมหาสมุทรแอตแลนติก ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๔

การประชุมที่กรุงมอสโก ประเทศสหภาพโซเวียต ตุลาคม ื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖

การประชุมที่คฤหาสน์ลัมเบอร์ตันโอคส์กรุงวอชิงตันดี.ชี. ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๗

การประชุมที่แหลมไครเมีย ตุลาคม ืองยัลตา ประเทศสหภาพโซเวียต ตุลาคม ื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘

การประชุมที่เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ได้มีการประชุมครั้งสุดท้าย และมีการตกลงก่อตั้งสหประชาชาติขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยมีสำนักงานใหญ่ของสหประชาชาติอยู่ที่กรุงนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาและสมาชิกเริ่มต้นทั้งสิ้น ๕๑ ประเทศ ปัจจุบันสหประชาชชาติมีสมาชิก ๑๙๑ ประเทศ (เมษายน ๒๕๔๘) ส่วนประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ (ลำดับที่ ๕๔)

วัตถุประสงค์ของการตั้งสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ

การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

การเคารพในหลักความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ

การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรโลก ตลอดจนส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ

องค์กรในสหประชาชาติ (principal organs)

--------------------------------------------------------------------------------

สหประชาชาติ ประกอบด้วยองค์กรหลัก ๗ องค์กร คือ

๑. สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (General Assembly) ประกอบด้วยสมาชิกทุกประเทศของสหประชาชาติ เป็นองค์กรหลักที่ทำหน้าที่กำหนดแนวทางปฏิบัติงานขององค์การ พิจารณาและให้คำแนะนำในเรื่องต่างๆ ภายในขอบเขตของกฎบัตรสหประชาชาติ พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ พิจารณารายงานขององค์กรต่างๆ ของสหประชาชาติ ตุลาคม ีหน้าที่เลือกสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรี ตุลาคม มั่นคงจำนวน ๑๐ ประเทศ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจำนวน ๕๔ ประเทศและคณะมนตรีอื่นๆ ตลอดจนการรับสมาชิกใหม่ แต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อได้รับข้อเสนอแนะจากคณะมนตรีความมั่นคง ตุลาคม ทั้งพิจารณาและรับรองงบประมาณของสหประชาชาติ กำหนดส่วนเฉลี่ยค่าบำรุงของประเทศสมาชิก ฯลฯ

๒. คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (Security Council) ประกอบด้วย สมาชิกถาวร (Permanent Members) จำนวน ๕ ประเทศ (สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา) และ สมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent Members) จำนวน ๑๐ ประเทศ ซึ่งมาจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและอยู่ในตำแหน่งคราวละ ๒ ตุลาคม ีหน้าที่สอบสวนกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ที่อาจนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศ และเสนอแนะวิธีดำเนินการหรือแผนปฏิบัติการที่จะจัดทำความตกลงสำหรับการยุติข้อพิพาทโดยสันติ เสนอแนะการรับสมาชิกใหม่ เสนอแนะสมัชชาฯ ในการแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติ และทำหน้าที่ร่วมกับสมัชชาฯ ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาประจำศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

๓. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (Economic and Social Council : ECOSOC) ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน ๕๔ ประเทศ อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๓ ปี ทุกปีจะมีการเลือกตั้งแทนประเทศที่พ้นตำแหน่งปีละ ๑๘ ประเทศ สมาชิกที่ครบวาระแล้วมีสิทธิสมัครเข้ารับเลือกตั้งซ้ำและสามารถรับเลือกตั้งซ้ำในวาระต่อเนื่องได้ แบ่งการดำเนินงานออกเป็นคณะกรรมาธิการประจำ คณะกรรมาธิการภูมิภาค และองค์กรผู้เชี่ยวชาญ ตุลาคม ีหน้าที่ศึกษาและรายงานเรื่องระหว่างประเทศทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ตุลาคม การศึกษา ตุลาคม ัย และอื่นๆ ตุลาคม ทั้งให้คำแนะนำ เพื่อส่งเสริมการเคารพและปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพขั้นมูลฐานของปวงชน

๔. คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ (Trusteeship Council) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกที่ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง และประเทศอื่นๆ เท่าที่จำเป็น เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครองและมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่าๆ ตุลาคม ีหน้าที่พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดนและจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้

๕. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ประกอบด้วยผู้พิพากษาจำนวน ๑๕ คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๕ ปี คัดเลือกจากผู้มีคุณสมบัติสูงสุดทางตุลาการในประเทศของตนหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงและสมัชชาฯ เป็นผู้คัดเลือก ตุลาคม ีหน้าที่พิจารณาข้อขัดแย้งใน ทางกฎหมายตามที่แต่ละประเทศเสนอต่อศาลฯ และให้คำแนะนำตัวบทกฎหมายเมื่อได้รับการร้องขอจากองค์กรภายในสหประชาชาติ ตุลาคม ทั้งตีความกฎหมายระหว่างประเทศและการเตรียมร่างอนุสัญญาและสนธิสัญญาที่กำหนดแนวทางปฏิบัติระหว่างชาติ

๖. สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ (Secretariat) ตุลาคม ีเลขาธิการสหประชาชาติเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของสหประชาชาติ ปฏิบัติการในอำนาจหน้าที่ของเลขาธิการในการประชุมทั้งปวงของสมัชชา คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และคณะมนตรีภาวะทรัสตี ตุลาคม ทั้งปฏิบัติหน้าที่ที่องค์กรเหล่านี้มอบหมาย พร้อมทั้งจัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับสหประชาชาติเสนอต่อสมัชชาฯ

๗. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (The United Nations Human Rights Council) ตุลาคม ีหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบ ให้คำแนะนำและดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน แทนหน่วยงานเดิมที่เรียกว่า คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (The United Nations High Commissioner for Human Rights)

องค์กรเหล่านี้มีสำนักงานอยู่ที่นครนิวยอร์ก ยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ที่ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ นอกจากนี้ ยังมีทบวงการชำนัญพิเศษ (Specialized Agencies) อีกจำนวน ๑๗ องค์กร ซึ่งเป็นองค์กรอิสระและปฏิบัติงานเฉพาะสาขา ผูกพันกับสหประชาชาติตามข้อตกลงพิเศษ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ โดยมีคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมกับสมัชชาฯ เป็นองค์กรประสานงาน ได้แก่

FAO

องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization - ICAO)

ILO

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development - UNCTAD)

UNDCP

สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program - UNDP)

องค์การสิ่งแวดล้อมโลก (United Nations Environment Programme - UNEP)

องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization - UNESCO)

กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (อังกฤษ United Nations Population Fund - UNFPA)

UNHCR

UN-HABITAT

UN Water

กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children's Fund - UNICEF)

UNRWA

สหภาพสากลไปรษณีย์ (Universal Postal Union - UPU)

WFP

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization - WHO)

ภาษาที่ใช้ในสหประชาชาติทั้งหมดมี ๖ ภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย สเปน จีน อาระบิก ภาษาทั้ง ๖ ภาษานี้จัดเป็นภาษาทางการ แต่ภาษาที่ใช้ในการทำงานจริงนั้นใช้เพียง ๒ ภาษา ได้แก่อังกฤษ และฝรั่งเศส โดยที่ตัวแทนของประเทศต่าง ๆ จะต้องพูดภาษาในการทำงานได้ภาษาหนึ่ง จากนั้นคำพูดหรือเอกสารจะถูกแปลออกมาเป็นภาษาทางการทั้ง ๖ ภาษา

ฐานข้อมูลวิจัยสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

ฐานข้อมูลวิจัยสหประชาชาติ เป็นเอกสารประเภทรายงานการวิจัย หรือรายงานโครงการต่าง ๆ ของสหประชาชาติ เป็นผลงานวิจัยในระดับโลกหรือรายงานโครงการที่ดำเนินงานในประเทศต่าง ๆ ของสหประชาชาติ สามารถเข้าถึงได้ ๖ ภาษา

ประเทศไทยกับสหประชาชาติ

ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติลำดับที่ ๕๕ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๘๙ หลังจากที่สหประชาชาติได้ก่อตั้งเพียง ๑ ปี โดยนายดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ได้ชี้แจงเหตุผลไว้ดังนี้

เพื่อความมั่นคงของไทย เนื่องจากสหประชาชาติเป็นองค์การมีกำลังมากที่สุดที่สามารถธำรงสันติภาพ และความมั่นคง และให้ความยุติธรรมสำหรับประเทศเล็ก ๆ อย่างไทย

เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่า ประเทศไทยเป็นประเทศเก่าแก่ชาติหนึ่ง เนื่องจากการที่เข้าเป็นสมาชิกขององค์การโลกเป็นการยืนยันรับรองฐานะของไทยอีกครั้งหนึ่ง

ไทยหวังความช่วยเหลือจากสหประชาชาติในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่า ไทยประสงค์จะร่วมมือในการสร้างสันติภาพและความมั่นคงของโลกอย่างจริงจัง

บทบาทด้านการส่งเสริมสันติภาพและรักษาความมั่นคงระหว่างประเทศ

--------------------------------------------------------------------------------

ในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๘๐ ซึ่งเกิดกรณีปัญหากัมพูชา ประเทศไทยได้มีบทบาทนำอย่างแข็งขันร่วมกับอาเซียนในการแก้ไขปัญหาในประเทศเพื่อนบ้านโดยดำเนินการผ่านเวทีสหประชาชาติ ตุลาคม าหลังจากสหประชาชาติได้ปรับบทบาทให้สอดคล้องกับบรรยากาศทางการเมืองระหว่างประเทศ หลังจากการยุติของสงครามเย็น ประเทศไทยได้เพิ่มบทบาทในด้านการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าสหประชาชาติเป็นเสมือนตัวแทนประชาคมโลก ดังนั้นการให้สหประชาชาติดูแลรักษาสันติภาพและความมั่นคงจึงเป็นประโยชน์แก่ประเทศที่มีกำลังทางทหารขนาดเล็กอย่างไทยมากกว่าที่จะให้ประเทศใดประเทศหนึ่งใช้กำลังฝ่ายเดียวเพื่อยุติข้อขัดแย้ง

นอกจากนี้ ในฐานะประเทศสมาชิกที่ดีของสหประชาชาติไทยได้พยายามให้การสนับสนุนบทบาทของสหประชาชาติเท่าที่สถานภาพและกำลังทรัพย์จะเอื้ออำนวยประเทศไทยได้มีบทบาทในด้านนี้มาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ยุคหลังสงครามเย็น ดังนี้

ส่งทหารเข้าร่วมในกองกำลังรักษาสันติภาพฯ บริเวณชายแดนอิรัก-คูเวต (United Nations Iraq-Kuwait Observer Mission: UNIKOM) ปีละ ๕ นาย ตั้งแต่ปี ๒๕๓๔-ปัจจุบัน

ส่งทหารเข้าร่วมกองกำลังรักษาความปลอดภัยในอิรัก (United Nations Guards Contingent in Iraq :UNGCI) ในปี ๒๕๓๕ จำนวน ๒ ผลัด ๆ ละ ๕๐ นาย

ส่งทหารหนึ่งกองพันเข้าร่วมองค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา (United Nations Transitional Authority in Cambodia: UNTAC) ปี ๒๕๓๔-๒๕๓๕

ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าร่วมในปฏิบัติการรักษาสันติภาพในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา (United Nations Mission in Bosnia-Herzegovina: UNMIBH) ปีละ ๕ นาย ตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ – ปัจจุบัน

ส่งทหารเข้าร่วมปฏิบัติการของสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก ปี ๒๕๔๒- ปัจจุบัน

ส่งนายทหารสังเกตการณ์ ๕ นายเข้าร่วมในปฏิบัติการรักษาสันติภาพในเซียร์ราลีโอน(United Nations Mission in Siera Leon: UNAMSIL) ตั้งแต่ต้นปี ๒๕๔๓

ไทยกับติมอร์ตะวันออก

--------------------------------------------------------------------------------

เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ไทยเข้าร่วม UN Mission in East Timor (UNAMET) ซึ่งเข้าไปทำหน้าที่ดูแลการลงประชามติเพื่อกำหนดใจตนเองในติมอร์ตะวันออก ตุลาคม าเมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรง ไทยเข้าร่วมกองกำลังนานาชาติ (International Force in East Timor : INTERFET) จัดตั้งโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ กองกำลังดังกล่าวนำโดยออสเตรเลีย โดยพลตรีทรงกิตติ จักกาบาตร์ ดำรงตำแหน่งรองผู้บังคับบัญชากองกำลัง INTERFET ตุลาคม าเมื่อคณะมนตรีความมั่นคงฯ ตุลาคม ีข้อมติที่ ๑๒๗๒(๑๙๙๙) จัดตั้ง UN Transitional Administration in East Timor (UNTAET) ไทยได้ส่งกองกำลังไทย ๙๗๒ / ติมอร์ตะวันออก เข้าร่วม และได้รับมอบหมายให้ดูแล Sector East และเมืองเบาเกา โดยมีสายงานบังคับบัญชากองกำลังเกาหลีใต้ และฟิลิปปินส์ ด้วย

นอกจากนั้น ไทยยังได้ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจพลเรือนไปปฏิบัติหน้าที่ใน UNTAET ประมาณ ๕๐ คน และ พลโท บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ได้รับแต่งตั้งจากสหประชาชาติให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลัง UNTAET ระหว่างวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓ – วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ ตุลาคม า พลโท วินัย ภัททิยกุล ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๔ ขณะนี้ ตุลาคม ีทหารไทยปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกประมาณ ๗๐๐ คน นอกเหนือไปจากภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากสหประชาชาติแล้ว ทหารไทยยังได้ให้ความช่วยเหลือในด้านการพัฒนาโดยให้คำแนะนำทางการเกษตรแก่ชาวติมอร์ตะวันออกในพื้นที่รับผิดชอบ โดยได้รับความร่วมมือจาก โครงการไทยบรรเทาทุกข์ : น้ำใจสู่ติมอร์ฯ ที่ให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชและอื่น ๆ นอกจากนั้น ไทยยังได้ส่ง fact-finding mission ไปติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศแรกของอาเซียน เพื่อสำรวจความต้องการความช่วยเหลือของติมอร์ตะวันออก ในชั้นนี้ ไทยมีโครงการให้ความช่วยเหลือติมอร์ตะวันออก ได้แก่ โครงการฝึกอบรมการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันตนเอง การฝึกอบรมด้านเกษตรและสาธารณสุข ตุลาคม ถึงการแสวงหาความร่วมมือกับประเทศอื่นในรูปแบบไตรภาคีเพื่อขยายโครงการความช่วยเหลือใหม่ ๆ โดยเน้นโครงการสร้างสมรรถนะ (capacity-building) ของติมอร์ตะวันออก

บทบาทของไทยในฐานะเป็นที่ตั้งของหน่วยงานต่าง ๆ ของสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางของหน่วยงานสหประชาชาติและองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครได้เป็นที่ตั้งขององค์การในระดับภูมิภาคและสำนักงานที่สำคัญ ๆ ของสหประชาชาติหลายองค์การ ซึ่งเป็นองค์การหลักในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) สำนักงานส่วนภูมิภาคของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และองค์การอนามัยโลก เป็นต้น การที่ประเทศไทยได้เป็นที่ตั้งของหน่วยงานสหประชาชาติหลายหน่วยงานเช่นนี้ ได้เปิดโอกาสให้ความร่วมมือระหว่างไทยกับสหประชาชาติในด้านต่าง ๆ ดำเนินไปอย่างใกล้ชิด ซึ่งได้ให้ประโยชน์โดยตรงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย โดยเฉพาะต่อประชาชนในภูมิภาคซึ่งยังมีฐานะยากจนและขาดแคลนในด้านสาธารณูปโภค และระบบสุขอนามัยที่ดี

บทบาทของไทยในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งต่างๆ ของสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

นับตั้งแต่ไทยได้เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ ผู้แทนของประเทศไทยได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ในสหประชาชาติอย่างสม่ำเสมอ อาทิ

ประธานสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ ๑๑ ปี ๒๔๙๙ โดยพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงได้รับการเลือกจากประเทศสมาชิกสมัชชาฯ

สมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประจำปี ๒๕๒๙-๒๕๓๐

สมาชิกคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ช่วงปี ๒๕๑๗-๒๕๑๙, ๒๕๒๓-๒๕๒๕, ๒๕๒๖-๒๕๒๘, ๒๕๓๒-๒๕๓๔, ๒๕๓๘-๒๕๔๐

รองประธานสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ ๓๕ ปี ๒๕๒๓, สมัยที่ ๔๓ ปี ๒๕๓๑, สมัยที่ ๕๐ ปี ๒๕๓๘ และ สมัยที่ ๕๔ ปี ๒๕๔๒

ประธานคณะกรรมการพิเศษว่าด้วยการเมืองและปลดปล่อยอาณานิคม ปี ๒๕๓๔

ประธานคณะทำงานของกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดว่าด้วยปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ปี ๒๕๓๖-๒๕๔๑

รองประธานคณะทำงานเฉพาะกิจว่าด้วยการปรับปรุงและขยายคณะมนตรีความมั่นคงฯ ปี ๒๕๓๗-๒๕๔๑

ประธานคณะกรรมการบริหารของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติและกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ ปี ๒๕๔๑-๒๕๔๒

ประธานร่วมคณะเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการเตรียมการสำหรับการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการให้ความสนับสนุนด้านการเงินสำหรับการพัฒนา ปี ๒๕๔๓

นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกสหประชาชาติให้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมาธิการ หรือ คณะกรรมการต่าง ๆ ในกรอบสหประชาชาติอีกมากมาย โดยในปี ๒๕๔๓ ไทยดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการ ๘ คณะ ได้แก่ การพัฒนาสังคม กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ตุลาคม าตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการบัญชีและรายงาน การป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ยาเสพติด การพัฒนาที่ยั่งยืน โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ และโครงการประสานงานความช่วยเหลือแห่งสหประชาชาติ และในปี ๒๕๔๔ ไทยจะเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนเป็นครั้งแรก โดยมีวาระถึงปี ๒๕๔๖ เป็นเวลา ๓ ปี

รายชื่อคนไทยที่ได้รับยกย่องจากสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

นับตั้งแต่ไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ คนไทยได้รับการยกย่องจากหน่วยงานด้านต่าง ๆ จากสหประชาชาติมากมาย ซึ่งนอกจากจะเสริมสร้างเกียรติคุณแก่บุคคลนั้น ๆ แล้วยังเป็นการยกฐานะของประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลกด้วย องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จัดการเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อเชิดชูเกียรติคุณของบุคคลหรือเหตุการณ์ที่มีต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ตุลาคม สังคมศาสตร์ หรือสื่อสาร ซึ่งองค์การได้ประกาศยกย่องพระนามและชื่อบุคคลสำคัญของประเทศไทย ดังนี้

ฉลองวันประสูติครบ ๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๐๕

ฉลองวันประสูติครบ ๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ษายน ๒๕๐๖

ฉลองวันพระราชสมภพครบ ๒๐๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ภาพันธ์ ๒๕๑๑

ฉลองวันพระราชสมภพครบ ๑๐๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม กราคม ๒๕๒๔

ฉลองวันเกิดครบรอบ ๒๐๐ ปี ของกวีเอกสุนทรภู่ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๒๙

ฉลองวันเกิดครบรอบ ๑๐๐ ปี ของพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ตุลาคม ื่อวันที่๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๑

ฉลองวันประสูติครบ ๒๐๐ ปี ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ตุลาคม พระปรมานุชิตชิโนรสเมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๓

ฉลองวันประสูติครบ ๑๐๐ ปี ของพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ ตุลาคม หมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๔

ฉลองวันพระราชสมภพครบ ๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ตุลาคม ื่อวันที่ ๑ ตุลาคม กราคม ๒๕๓๕

ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๓๙

ฉลองวันพระราชสมภพครบ ๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๓

ฉลองวันชาตะกาล ๑๐๐ ปี ของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี ตุลาคม ยงค์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๓

คนไทยที่ได้รับรางวัลและได้รับการแต่งตั้งจากสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

คนไทยที่ได้รับรางวัลและได้รับการแต่งตั้งจากสหประชาชาติให้ดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ ในสาขาด้านการพัฒนา ได้แก่

นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูตองค์การยูนิเซฟประจำประเทศไทย ตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบัน

นายมีชัย วีระไวทยะ อดีตผู้อำนวยการสมาคมพัฒนาชุมชนและประชากรแห่งประเทศไทย ได้รับรางวัลประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population Award) ประจำปี ๒๕๔๐ ค.ศ.๑๙๙๗) เนื่องจากบทบาทในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับประชากร และส่งเสริมการคุมกำเนิดในประเทศไทยและเอเชียมากว่า ๒๐ ปี และได้มีบทบาทสูงในการรณรงค์เรื่องการป้องกันโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS) รางวัลนี้จัดตั้งโดยมติสมัชชาสหประชาชาติ ตุลาคม อบให้แก่บุคคลหรือสถาบันที่มีผลงานดีเด่นในการสร้างเสริมสำนึกในปัญหาประชากรและหาแนวทางในการแก้ไขโดยมอบเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ ปี ๒๕๒๖ เป็นต้นมา นอกจากนี้ ในปี ๒๕๔๓ นายมีชัยฯ ยังได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูตสันถวไมตรีของ โครงการโรคเอดส์แห่งสหประชาชาติ (UNAIDS) อีกด้วย

นางมุกดา อินทรสาร ครูจากจังหวัดพะเยา ได้รับรางวัลการต่อสู้กับความยากจน (The Race against Poverty Award) ประจำปี ๒๕๔๒ จากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

น.ส.ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก อดีตนางสาวไทยและนางงามจักรวาลประจำปี ๒๕๓๑ (ค.ศ.๑๙๘๘) ได้รับเลือกให้เข้าร่วมในโครงการรณรงค์ระหว่างประเทศ “Face to Face” ของ UNFPA ในปี ๒๕๔๓

น.ส. แคทลียา แมคอินทอช นักแสดง ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนพิเศษด้านเยาวชนขององค์การยูนิเซฟประจำประเทศไทย ในปี ๒๕๔๓

นางอมีนะ บีเดลและ ประธานสมาคมอาสาสมัครต่อต้านยาเสพติดจากประเทศไทยได้รับมอบรางวัล United Nations Vienna Civil Society Award ประจำปี ๒๕๔๓ จากสำนักงานควบคุมยาเสพติดและการป้องกันอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UN/ODCCP)

บทบาทและความร่วมมือระหว่างไทยและสหประชาชาติในด้านสังคม

--------------------------------------------------------------------------------

ในอดีตที่ผ่านมา ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นภายในประเทศมักเป็นผลหรือได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์นอกประเทศ ปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกาภิวัฒน์ ปัญหาสังคมมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากความเกี่ยวโยงทั้งจากปัจจัยภายในประเทศและภายนอกประเทศจนไม่อาจแก้ไขได้จากด้านใดเพียงด้านเดียว หรือโดยประเทศใดประเทศเดียวเพียงลำพัง และบ่อยครั้งที่ปัญหาภายในประเทศได้ส่งผลกระทบต่อความอยู่ดีกินดี ตุลาคม ปลอดภัย ตุลาคม มั่นคงของประชาชนและประเทศในระดับภูมิภาคและของโลก ทำให้ไทยจำเป็นต้องกระตือรือร้นที่จะให้ความร่วมมือแก่ประชาคมระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมภายในประเทศ และป้องกันมิให้ปัญหาภายในประเทศลุกลามจนกลายเป็นปัญหาของภูมิภาคหรือของโลก

จากการสู้รบในประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศไทยได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสมาชิกของประชาคมระหว่างประเทศที่จะต้องให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้อพยพที่เข้ามาพักพิงในประเทศนานนับทศวรรษ ในช่วงวิกฤตการณ์อินโดจีน ไทยได้ให้ที่พักพิงแก่ผู้อพยพชาวกัมพูชา ลาว และเวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ จนสิ้นสุดการสู้รบจำนวนล้านกว่าคน แม้ไทยจะได้รับผลกระทบด้านอื่น ๆ เช่น ปัญหาความมั่นคงทางชายแดนก็ตาม นอกจากนี้ไทยได้รณรงค์ให้ประชาคมระหว่างประเทศสนใจปัญหาผู้อพยพเป็นเรื่องที่ประเทศต่าง ๆ ตุลาคม ทั้งองค์การระหว่างประเทศจะต้องร่วมกันแบกรับภาระและแก้ไขปัญหา เพื่อให้ประชาชนของสังคมโลกสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีสันติสุข แม้ปัญหาผู้อพยพอินโดจีนถือได้ว่ายุติลงแล้ว แต่ไทยยังคงแบกรับภาระผู้หนีภัยการ สู้รบจากพม่าอีกกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คนที่ยังพักพิงอยู่ในประเทศและรอการแก้ปัญหา

นอกจากการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแล้ว ประเทศไทยได้พัฒนามาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลซึ่งเป็นที่ยอมรับ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนภายในประเทศ เช่น การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อรับพันธกรณีที่จะคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านต่าง ๆ เช่น สิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตุลาคม ทั้งการให้ความคุ้มครองแก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการละเมิด เช่น เด็กและสตรี การสนับสนุนให้กลไกต่าง ๆ ภายในประเทศที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้มีความเข้มแข็งขึ้นโดยการเรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหา และความเชี่ยวชาญจากประเทศต่าง ๆ ที่ได้มีกลไกลักษณะเดียวกันมาก่อนประเทศไทย นอกจากนี้ ไทยยังจะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน (CHR) ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นระยะเวลา ตุลาคม ีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรฐานการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในระดับระหว่างประเทศ

ในด้านการพัฒนาสังคม

--------------------------------------------------------------------------------

นอกจากการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อส่งเสริมศักยภาพของบุคคลบางกลุ่มในสังคม เช่น ผู้พิการ และคนชรา แล้ว ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน์ เช่น ภาวะความยากจน การค้ามนุษย์ ยาเสพติด การฟอกเงิน การระบาดของเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และโรคอื่น ๆ ได้กลายเป็นปัญหาที่ไร้พรมแดน และหลายกรณีเกี่ยวพันกันจนไม่อาจแยกจากกันได้ การแก้ไขปัญหาเฉพาะปัญหาภายในประเทศจึงไม่ประสบความสำเร็จ และไม่สามารถกระทำได้โดยประเทศใดตามลำพัง หากจำเป็นต้องร่วมมือกันในระดับระหว่างประเทศ และในทุกภาคของสังคม ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์การเอกชน ตุลาคม ทั้งการมีส่วนร่วมของประชาชน

ไทยได้ให้ความร่วมมือแก่สหประชาชาติในด้านการพัฒนาสังคม โดยเฉพาะปัญหาในระดับภูมิภาคมาโดยตลอด ในขณะเดียวกัน ไทยก็ได้รับความช่วยเหลือด้านความรู้ ประสบการณ์ และเงินทุนสำหรับแผนงานและโครงการต่าง ๆ ภายในประเทศโดยผ่านองค์กรต่าง ๆ เช่น คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) โครงการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (UNDCP) ด้วยเช่นกัน

ไทยกับประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม

--------------------------------------------------------------------------------

องค์การสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญและความสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังตั้งแต่ทศวรรษ ค.ศ. ๑๙๗๐ เป็นต้นมา โดยเริ่มจัดให้มีการประชุมระหว่างประเทศที่กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ในเรื่องสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ (Human Environment) ในปี ค.ศ. ๑๙๗๒ ทำให้เรื่องสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในประชาคมระหว่างประเทศ และนำไปสู่การจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศต่าง ๆ ในเวลาต่อมา

ประเทศไทยตระหนักเป็นอย่างดีถึงภัยคุกคามที่เกิดจากปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม และ รัฐบาลชุดปัจจุบันได้กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของประเทศ ตุลาคม ทั้งได้ดำเนินการในด้านต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกันปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมยังมีผลกระทบข้ามพรมแดนและเป็นภัยคุกคามต่อสังคมโลกโดยรวมด้วย ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้ร่วมมือกับประชาคมระหว่างประเทศ ทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรอบขององค์การสหประชาชาติและแสวงหาแนวทางร่วมกันในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของโลก ซึ่งเป็นมรดกร่วมกันของมวลมนุษยชาติให้มีความปลอดภัยเพื่อคนทั้งในรุ่นปัจจุบันและอนาคต

ไทยกับสหประชาชาติในสหัสวรรษใหม่

--------------------------------------------------------------------------------

ในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ ๕๓ ที่นครนิวยอร์กเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๑ ที่ประชุมได้รับรองข้อมติที่ ๕๓/๒๐๒ เรื่อง The Millennium Assembly of the United Nations ซึ่งนายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติเป็นผู้เสนอ โดยมีสาระสำคัญคือให้เรียกการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ ๕๕ ในปี ๒๕๔๓ (ค.ศ. ๒๐๐๐) ว่า The Millennium Assembly of the United Nations และให้จัดการประชุมสุดยอดระดับประมุขของรัฐ/หัวหน้ารัฐบาลระหว่างวันที่ ๖ - ๘ กันยายน ๒๕๔๓ ณ นครนิวยอร์กเป็นกิจกรรมหนึ่งของการประชุมสมัชชาฯ สมัยดังกล่าวเรียกว่า Millennium Summit ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ ได้มีโอกาสเสนอแนะข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการปรับปรุงสหประชาชาติให้สามารถตอบสนองกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สืบเนื่องจากข้อมติดังกล่าว สหประชาชาติได้จัดการประชุม Regional Hearings ขึ้นตามภูมิภาคต่าง ๆ ๕ ภูมิภาค ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียตะวันตก (จัดที่กรุงเบรุต เลบานอน) ภูมิภาคแอฟริกา (กรุงแอดดิส อาบาบา เอธิโอเปีย) ภูมิภาคยุโรป (นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์) ภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน (กรุงซานติอาโก ชิลี) และภูมิภาคเอเชีย (กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น) เพื่อรับฟังความคิดเห็นของทุก ๆ ฝ่ายเกี่ยวกับการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งในส่วนของภูมิภาคเอเชีย คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) ได้จัดการประชุม Regional Hearings ขึ้นที่กรุงโตเกียว ระหว่างวันที่ ๙ - ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒ โดยมีเจ้าหน้าที่ระดับสูงของกระทรวงการต่างประเทศและองค์กร เอกชนไทยเข้าร่วม

ต่อมา ตุลาคม ื่อวันที่ ตุลาคม ษายน ๒๕๔๓ เลขาธิการสหประชาชาติได้เสนอรายงาน Millennium Report เรื่อง We the Peoples: The Role of the United Nations in the ๒๑st Century โดยมีเนื้อหากล่าวถึงพัฒนาการต่าง ๆ ของโลกที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของสหประชาชาติในระยะ ๕๕ ปีที่ผ่านมาและได้ระบุถึงสิ่งท้าทายต่าง ๆ (challenges) ที่สหประชาชาติจะต้องเผชิญในศตวรรษที่ ๒๑ ตลอดจนแนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด

ในส่วนของประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศเห็นว่า ปัจจุบันงานของสหประชาชาติได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของประชาชนในทุก ๆ ด้านทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเห็นว่า การประชุม Millennium Summit นี้เป็นโอกาสที่ประเทศไทยสามารถให้ข้อคิดเห็นเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานสหประชาชาติให้ตอบสนองความต้องการของประเทศกำลังพัฒนามากยิ่งขึ้น ฯพณฯ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุม

การประชุมครั้งนี้ ตุลาคม ีคณะผู้แทนเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้นจาก ๑๘๙ ประเทศ ประกอบด้วยหัวหน้าคณะผู้แทนระดับประมุขของรัฐ ๙๙ คน หัวหน้ารัฐบาล ๔๘ คน และระดับสูงอื่น ๆ การประชุมแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ การกล่าวถ้อยแถลงของหัวหน้าคณะผู้แทนและการสัมมนาโต๊ะกลม

ผู้แทนประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่ได้กล่าวถ้อยแถลงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัฒน์ที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและส่งทั้งผลดีและผลเสียแก่ประเทศต่าง ๆ ตลอดจนกล่าวถึงสิ่งท้าทาย (challenges) ที่เกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงนั้น บทบาทของสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมไปถึงประเด็นที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น ตุลาคม ยากจน การละเมิดสิทธิมนุษยชน ตุลาคม เสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ตุลาคม ด้อยพัฒนา การแพร่กระจายของโรคติดต่อร้ายแรง (รวมถึง HIV/AIDS) การฉ้อราษฎร์บังหลวง ฯลฯ ตุลาคม จำเป็นในการปฏิรูปสหประชาชาติโดยเฉพาะคณะมนตรีความมั่นคงฯ ให้เป็นประชาธิปไตย และตอบสนองต่อความต้องการของประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ให้มากขึ้น การเสริมสร้างความแข็งแกร่งของการปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ การเรียกร้องให้สหประชาชาติมีบทบาทในการควบคุมดูแลความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจและการเงินระหว่างประเทศให้มากขึ้น ตุลาคม แตกต่างที่เกิดขึ้นจากระดับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีข่าวสารข้อมูล

นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยได้กล่าวถ้อยแถลงสนับสนุนรายงานของเลขาธิการสหประชาชาติ โดยเฉพาะแนวทางการพัฒนาที่เน้นประชาชนเป็นจุดศูนย์กลาง ปัญหาราคาน้ำมันโลกที่เพิ่มสูงขึ้นซึ่งอาจก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลก การดำเนินการของไทยที่ช่วยส่งเสริมสันติภาพและความมั่งคั่งระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยการเสนอชื่อ ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ ในตำแหน่งผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) การจัดการประชุมอังค์ถัด (UNCTAD X) การสนับสนุนการจัดการประชุม Financing for Development ในระดับสูงสุด และการที่พลโทบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ได้รับคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลังของคณะผู้บริหารในการถ่ายโอนอำนาจแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก (UNTAET) นอกจากนั้น ได้แสดงท่าทีสนับสนุนการขยายจำนวนสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (Security Council) ทั้งประเภทถาวรและไม่ถาวรบนพื้นฐานของการมีตัวแทนที่เท่าเทียมกันในแต่ละภูมิภาค

สำหรับการสัมมนาโต๊ะกลม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยได้กล่าวถึงปัญหาการผูกขาดการค้าทรัพยากรต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีและน้ำมัน ว่า ราคาน้ำมันโลกที่เพิ่มสูงขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับประเทศที่อยู่ในช่วงฟื้นฟูเศรษฐกิจ ไทยจึงประสงค์จะให้ที่ประชุมสุดยอดครั้งนี้ส่งสัญญาณร่วมกันถึงความจำเป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหาราคาน้ำมันดังกล่าว

ที่ประชุมได้รับรองร่างข้อมติ United Nations Millennium Declaration โดยฉันทามติ ปฏิญญาดังกล่าวเน้น “คน” เป็นศูนย์กลางการพัฒนา โดยกำหนดเป้าหมายสำคัญ ๔ ประการคือ การส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง การส่งเสริมประชาธิปไตยและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การพัฒนา การลดความยากจนและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และการปฏิรูปสหประชาชาติ ปฏิญญาดังกล่าวเป็นการแสดงข้อผูกพันทางการเมือง (Political Commitment) ของประเทศสมาชิกในระดับสูงร่วมกันที่จะนำเป้าหมายที่กำหนดในปฏิญญามาปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม และสะท้อนให้เห็นว่าประเทศสมาชิกมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนองค์การสหประชาชาติในฐานะที่เป็นสถาบันที่จำเป็นของมนุษยชาติในการที่จะผลักดันมวลมนุษย์ชาติไปสู่สันติภาพ ตุลาคม ร่วมมือ การพัฒนาทำให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดี ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ตุลาคม มุ่งมั่นร่วมกันเช่นนี้เป็นสิ่งที่น่ายินดี เพราะไม่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายในยุคสงครามเย็นซึ่งโลกแบ่งออกเป็นขั้ว ด้วยเหตุผลทางอุดมการณ์อย่างชัดเจน ทำให้การเห็นพ้องต้องกันในเรื่องใดเรื่องก็เป็นไปได้ยาก

ที่ประชุม Millennium Summit ได้ขอให้ที่ประชุมสมัชชาฯ ทบทวนปฏิบัติการต่าง ๆ ตุลาคม ปฏิญญาและขอให้เลขาธิการสหประชาชาติมีรายงานเสนอต่อที่ประชุมสมัชชาฯ เป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการดำเนินการขั้นต่อไป ซึ่งประธานสมัชชาฯ ได้รับที่จะติดตามผล และรักษา momentum และ Spirit ของการประชุม Millennium Summit ให้คงอยู่โดยได้เสนอแนวทางการดำเนินงานเพื่อเป็นพื้นฐานในการหารือต่อไป

กรมองค์การระหว่างประเทศและคณะกรรมการประสานงานสหประชาชาติ

--------------------------------------------------------------------------------

กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ตุลาคม ีหน้าที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับนโยบายของไทยในกรอบพหุภาคี และกรอบสหประชาชาติ อย่างไรก็ดี โดยที่ขอบข่ายงานด้านนี้มีสาระ ครอบคลุมงานในสาขาเฉพาะต่าง ๆ ตุลาคม ากมาย และเพื่อให้การดำเนินนโยบายของไทยในกรอบสหประชาชาติตอบสนองต่อผลประโยชน์ของชาติให้ได้มากที่สุด จึงได้มีการเสนอให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานด้านสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ และองค์การต่างประเทศ ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๒๕ ประกอบด้วยกรรมการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยมีปลัดกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน อธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศเป็นรองประธาน และกรมองค์การระหว่างประเทศทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ในการให้ข้อมูล ประสานนโยบาย และกำหนดท่าทีของไทยสำหรับการประชุมในองค์การระหว่างประเทศ ซึ่งกรมองค์การระหว่างประเทศจะหารือร่วมกับคณะกรรมการประสานงานฯ เพื่อกำหนดท่าทีไทยสำหรับการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ซึ่งมีขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างเดือนกันยายนถึงธันวาคม

วันพัฒนาข้อมูลข่าวสารโลก

๒๕ ตุลาคม ๒๔๐๙

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือจนถึงเมืองพิษณุโลก โดยเรือพระที่นั่งอรรคราชวรเดช เพื่อประกอบพิธีสมโภชพระพุทธชินราช

๒๕ ตุลาคม ๒๔๘๖

ญี่ปุ่นสร้างทางรถไฟสายพม่า (สายมรณะ) เสร็จ ตุลาคม ีระยะทางยาว ๓๐๒ กิโลเมตร ตุลาคม ี ๓๗ สถานี ไทยซื้อกลับมาเป็นของไทยจากอังกฤษ เป็นเงิน ๕๐ ล้านบาท ตุลาคม ื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๐

๒๕ ตุลาคม ๒๕๑๕

กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้สั่งการให้กองทัพเรือจัดเรือ และเครื่องบินทหารเรือทำการลาดตะเวณบริเวณภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถึง จังหวัดนราธิวาส เพื่อสะกัดกั้นการแทรกซึมทางทะเล กองทัพเรือจึงจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการภาคใต้ (นปต.) ขึ้น

๒๖ ตุลาคม ๒๔๒๘

พ.อ.พระเจ้าน้องยาเธอ ตุลาคม หมื่นประจักษ์ศิลปาคม ผู้บังคับการกรม ทหารรักษาพระราชวัง เป็นแม่ทัพ กองทัพฝ่ายใต้ ไปปราบพวกฮ่อที่ทุ่งเชียงคำ โดยตั้งกองบัญชาการที่เมืองหนองคาย

๒๖ ตุลาคม ๒๕๑๓

กองทัพบกจัดตั้ง ตุลาคม การกำลังสำรองทหารบก (กสร.ทบ.)

๒๗ ตุลาคม ๒๕๒๔

กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้น ทะเบียน พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ตั้งอยู่ตำบลห้วยทรายเหนือ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเคยเป็นที่ประทับแปรพระราชฐานของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นโบราณสถานแห่งชาติ ตุลาคม ีพื้นที่เขตโบราณสถาน ๓๑ ไร่ ๑ งาน ๖๒.๕ ตารางวา

๒๘ ตุลาคม ๒๕๐๐

วันประกอบพิธีปล่อย เรือหลวงสัตหีบ (ลำที่ ๑) ลงน้ำ เป็นเรือประเภทเรือตอร์ปิโดเล็ก และเป็นเรือรบเหล็กกล้าลำแรก ที่กองทัพเรือต่อขึ้นเอง ที่อู่ต่อเรือ ตุลาคม อู่ทหารเรือ ใน พ.ศ.๒๔๙๙

๒๙ ตุลาคม ๒๔๙๔

กองทัพเรือทำพิธีมอบและขึ้นระวางประจำการ เรือหลวงประแส (ลำที่ ๒) และเรือหลวงท่าจีน (ลำที่ ๒) ที่ฐานทัพเรือโยโกสุกะ ประเทศญี่ปุ่น เรือหลวงทั้งสองเป็นเรือประเภทเรือฟริเกต ต่อที่สหรัฐอเมริกา เดิมชื่อ USS Gullup และ USS Glendale ซึ่งไทยขอซื้อเพื่อใช้ปฏิบัติการร่วมรบ ในสมรภูมิเกาหลี แทนเรือประแสลำที่เกยตื้น

๓๐ ตุลาคม ๒๓๖๙

คุณหญิงโม ภริยาปลัด ตุลาคม ืองนครราชสีมา ใช้อุบายทำร้ายฆ่าฟันทหารของพวก เจ้าอนุวงศ์ เวียงจันทน์ ล้มตายเป็นจำนวนมาก ที่ทุ่งสัมฤทธิ์ จนเจ้าอนุวงศ์ต้องล่าถอยกลับไป ตุลาคม ดีความชอบในครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ คุณหญิงโมเป็นท้าวสุรนารี

๓๐ ตุลาคม ๒๔๙๑

เกิดกบฎแบ่งแยกดินแดน ตุลาคม ีผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีผู้หนึ่ง ได้ชักชวนชายฉกรรจ์จำนวนหนึ่ง ไปรับการศึกษาวิชาทหารที่คุนมิง ประเทศจีน แล้วกลับมาทำการยุยงประชาชนภาคอีสาน ให้แยกดินแดนภาคอีสานให้เป็นรัฐอิสสระจากราชอาณาจักรไทย

๓๑ ตุลาคม ตุลาคม แห่งชาติ, วันฮาโลวีน

๓๑ ตุลาคม ๒๔๙๗

จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นประธานในพิธีตรวจพลสวนสนามทางเรือ จำนวน ๔๕ ลำ ที่บริเวณอ่าวบางแสน จังหวัดชลบุรี โดยมีเรือหลวงแม่กลองเป็นเรือนำ

 

โปรดเลือก "คลิ๊ก" เพื่ออ่านเหตุการณ์ใน ๑๒ เดือน

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน
พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม
กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

 

นำเสนอโดย
วัดท่าไทร ต.ท่าทองใหม่
อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี 84290